Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31031
Title: การกำจัดโครเมียมโดยการตกผลึกในกระบวนการฟลูอิดไดซ์เบด
Other Titles: Chromium removal by crystallization in fluidized bed process
Authors: อัญชลี จันทวรรณกูร
Advisors: สุทธิรักษ์ สุจริตตานนท์
Other author: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย
Issue Date: 2535
Publisher: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
Abstract: การวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมและประสิทธิภาพในการกำจัดโครเมียมโดยวิธีการตกผลึกในกระบวนการฟลูอิดไดซ์เบดและสารทำให้เกิดตะกอนโครเมียม (III) ไฮดรอกไซด์ คือ โซเดียมไฮดรอกไซด์ คอลัมน์ที่ใช้ทดลองทำด้วยอครีลิค ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 5 ซม. สูง 3.45 ม. บรรจุด้วยทราย ขนาด 0.8-1.2 มม. ความสูงเบด 1, 1.5, 2 ม. ภายใต้สภาวะที่มีการควบคุมระดับพีเอช 8.5, 9.0, 9.5 น้ำเสียสังเคราะห์ที่ใช้ในการทดลองกำหนดให้มีความเข้มข้นโครเมียม 5 ระดับ คือ 5, 10, 50, 100, 200, มก./ล. ผลการทดลองพบว่า ความสูงเบด, พีเอช จะเป็นพารามิเตอร์สำคัญที่ใช้กำจัดโครเมียม พีเอชที่เหมาะสมคือ 9.0 ความสูงของเบดที่ทำให้มีประสิทธิภาพการกำจัดได้ดีที่สุด คือ ความสูง 2 ม. กำจัดโครเมียมได้ 45-60% ยกเว้นความเข้มข้นโครเมียม 200./ล. เนื่องจากความเข้มข้นไฮดรอกไซด์ไม่เพียงพอต่อการตกผลึก กลไกการกำจัดโครเมียมด้วยวิธีนี้ จะเกิดกลไกการถ่ายเทมวลสารและการตกผลึกบนผิวเม็ดทราบสำหรับการใช้โซเดียมไฮดรอกไซด์ในการวิจัยนี้ จะทำให้เกิดตะกอนเบาอัดตัวไม่แน่นบนผิวเม็ดทราย ของแข็งแขวนลอยจึงมีมากในน้ำที่ผ่านการบำบัด
Other Abstract: This research was a study of optimum condition and efficiency of chromium removal by crystallization in fluidized bed process. Chemical used for precipitation was sodium hydroxide. Column used for experiment was made of acrilic, 5 cm. diameter, height 3.45 m., and filled with sand size 0.8 - 1.2 mm. at bed height 1, 1.5, 2 m. under controlling conditions of pH levels 8.5, 9.0, 9.5. Wastewater was synthesized to have 5 levels of chromium concentration which were 5, 10, 50, 100, 200 mg/1. It was found that bed height and pH were important parameters in chromium removal. Optimum pH was 9.0. Maximum chromium removal efficiency occurred at 2 m. of bed height, removed chromium 45-60% except at chromium concentration of 200 mg/1. Because of hydroxide concentration had insufficient for crystallization. Chromium removal mechanisms of the process were mass transfer and crystallized on sand surface. Sodium hydroxide, produced hydroxide sludge which was loosely formed on sand surface. Therefore, high suspended solids was found in the effluent.
Description: วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535
Degree Name: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
Degree Level: ปริญญาโท
Degree Discipline: วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31031
ISBN: 9745815179
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Unchalee_ch_front.pdf977.46 kBAdobe PDFView/Open
Unchalee_ch_ch1.pdf398.57 kBAdobe PDFView/Open
Unchalee_ch_ch2.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open
Unchalee_ch_ch3.pdf728.44 kBAdobe PDFView/Open
Unchalee_ch_ch4.pdf2.46 MBAdobe PDFView/Open
Unchalee_ch_ch5.pdf320.52 kBAdobe PDFView/Open
Unchalee_ch_back.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.