Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31545
Title: | การใช้คอมพิวเตอร์ในการปรับแผนงานก่อสร้าง |
Other Titles: | Use of computer in construction reschedling |
Authors: | อรุณ อึ้งไพบูลย์ |
Advisors: | ปิง คุณวัฒน์สถิตย์ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Issue Date: | 2533 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | การวิจัยนี้เป็นการใช้คอมพิวเตอร์ ในการวางแผนงาน ก่อนการก่อสร้าง และปรับแผนงานในขณะดำเนินการก่อสร้าง ในด้านของระยะเวลา เงินทุน และทรัพยากร ซึ่งจะได้แผนงานจากการเลือกปรับค่าใช้จ่ายและระยะเวลา การจัดทรัพยากรให้สม่ำเสมอภายในระยะเวลาโครงการ การจัดทรัพยากรให้น้อยกว่าที่กำหนด โดยการขยายระยะเวลาโครงการ และการปรับแผนงานเพื่อลดต้นทุนทางการเงิน การปรับแผนงานระหว่างค่าใช้จ่ายและเวลานั้น เป็นการปรับแผนงานในแนวเส้นวิกฤติ ซึ่งในโปรแกรม สามารถเลือกแผนงานที่ให้ต้นทุนรวมน้อยที่สุด ระยะเวลาโครงการน้อยที่สุด หรือกำหนดระยะเวลาโครงการ เพื่อให้ได้แผนงานที่เหมาะสม การปรับแผนงานการจัดทรัพยากร เป็นการจัดทรัพยากรให้สม่ำเสมอ และลดการใช้ทรัพยากรให้น้อยกว่าที่มีอยู่ ซึ่งในโปรแกรม สามารถเลือกปรับเฉพาะแรงงาน (Labor) เครื่องจักร (Equipment) อย่างใดอย่างหนึ่ง หรือทั้งสองชนิดพร้อมกัน การปรับแผนงานเพื่อลดต้นทุนทางการเงิน เป็นการลดช่วงเวลาจ่ายเงินออก และรับเงินเข้ารวมทั้งการเลื่อนงานที่ไม่เกี่ยวข้องกับช่วงการรับเงินออกไป ซึ่งในโปรแกรม สามารถเลือกปรับแผนงานตามแบบของการรับเงินจากเจ้าของงานคือ แบบกำหนดช่วงเวลาคงที่ และแบบกำหนดงานที่ทำเสร็จ |
Other Abstract: | The aim of this thesis is to apply computer for construction planning and rescheduling in terms of time, cost and resources, and to give schedule of time-cost tradeoff, resource leveling and minimize financial cost. Scheduling of time-cost tradeoff will operate on the critical paths. The developed program will give the least total cost and the least project time to come out with optimum plan and schedule. Resource leveling will be applied to smooth the resource profile and reduce resource demand under available resource. The program is also developed for leveling labor or equipment, or both. The rescheduling will be consequently operated. The aim of minimizing financial cost is to reduce the period of fund flow out and flow in. The activity will be shifted into the advantage of cash flow. The developed program will select appropriate plans and type of payment term from the owner, progress and stage of completion. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2533 |
Degree Name: | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิศวกรรมโยธา |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31545 |
ISBN: | 9745776599 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Arun_un_front.pdf | 5.58 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arun_un_ch1.pdf | 2.36 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arun_un_ch2.pdf | 2.58 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arun_un_ch3.pdf | 13.88 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arun_un_ch4.pdf | 3.09 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arun_un_ch5.pdf | 6.99 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arun_un_ch6.pdf | 1.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Arun_un_back.pdf | 92.32 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.