Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/315
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorวิชุดา รัตนเพียร-
dc.contributor.authorอัญชนา จันทรสุข, 2511--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-14T08:35:42Z-
dc.date.available2006-06-14T08:35:42Z-
dc.date.issued2545-
dc.identifier.isbn9741728972-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/315-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2545en
dc.description.abstractศึกษาความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญเกี่ยวกับรูปแบบการจัดการห้องเรียนเสมือน บนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สำหรับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา และนำเสนอรูปแบบการจัดการห้องเรียนเสมือนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ที่เหมาะสมสำหรับผู้เรียนระดับอุดมศึกษา กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ ผู้ทรงคุณวุฒิ/ผู้เชี่ยวชาญด้านการจัดการห้องเรียนเสมือนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต รวมทั้งหมดจำนวน 25 คน การศึกษาครั้งนี้ ใช้เทคนิควิธีวิจัยแบบเดลฟาย เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยแบ่งเป็น 2 ประเภทคือ 1. ใช้แบบสอบถามปลายเปิด 2. ใช้แบบสอบถามปลายปิด ชนิดประมาณค่า 5 ระดับ การวิเคราะห์และเก็บรวบรวมข้อมูลใช้ค่าสถิติ ร้อยละ มัธยฐาน พิสัยระหว่างควอไทล์ ค่าเฉลี่ยมัชฌิมเลขคณิต และค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า 1. การจัดสภาพแวดล้อมและสิ่งสนับสนุนการเรียนการสอน ควรคำนึงถึงคุณสมบัติของอุปกรณ์และโปรแกรม เครื่องมือพัฒนารายวิชา และระบบบริหารการเรียนการสอน แหล่งทรัพยากรสนับสนุนการเรียน เว็บเพจห้องเรียนเสมือนรายวิชาที่สอน กลุ่มสนทนา อภิปราย และให้คำปรึกษา และควรคำนึงถึงการจัดตั้งที่ตั้งเว็บ (Web Server) และสถานที่ที่ติดตั้งชุดอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ 2. นโยบายสถาบัน ควรให้สอดคล้องกันทั้งด้านนโยบาย ทิศทาง เป้าหมาย งบประมาณ การวางแผนและการจัดบุคลากร 3. ผู้สอนควรคำนึงถึงความรู้ด้านการใช้งานภาษาอังกฤษ วิธีการสอน การใช้งานคอมพิวเตอร์ การใช้งานอินเทอร์เน็ต การใช้งานซอฟแวร์พัฒนาบทเรียน และควรมีคุณธรรม จริยธรรม 4. ผู้เรียนควรคำนึงถึงความรู้ด้านการใช้งานภาษาอังกฤษ การใช้งานคอมพิวเตอร์และการใช้งานอินเทอร์เน็ต ควรมีความพร้อมทางเศรษฐกิจและการสร้างทักษะการเรียนด้วยการอ่าน และการวิเคราะห์ด้วยตนเอง 5. วิธีการเรียน ควรคำนึงถึงประเภทของกิจกรรมให้สอดคล้องกับบริการบนอินเทอร์เน็ต และสื่อการสอนที่เหมาะสม ควรเป็นสื่อที่สามารถโต้ตอบได้ และ slide พร้อมคำบรรยายen
dc.description.abstractalternativeTo study the opinions of the panel experts regarding a proposed virtual classroom management model on the internet for students in higher education institutions. The samples were 25 experts in virtual classroom management. Delphi technique was used for data collection. The instruments used to collect data were questionnaires. Five specified experts confirmed results of the findings. The statistics used to analyze data were percentage, median, interquartile range, average value and standard deviation. The finding revealed that 1. The environment organization and teaching & learning support may considered the qualifications of the equipmentʼs and programs. Furthermore, authoring tools for courseware development and learning management system, the resource, the classroom web page as the teaching & learning supported subject, discussion group and the organization of the web server and the site for the computer set must be considered. 2. The institution's policies may conform with the directions, aims, budgeting, planning and staff management. 3. The teachers must consider the abilities to use English, teaching methods, computer and internet skills, including the abilities to use the software to develop the lessons as well as virtue and morality. 4. The learners may consider the abilities to use English as well as computer and internet skills. Furthermore, they must be financially supported and skillful in reading and analyzing by themselves. 5. The learning methods should consider the type of activities to conform with the internet service and suitable learning medium may be the corresponding conductor and slide with description.en
dc.format.extent3131601 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2002.620-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการเรียนการสอนผ่านเว็บen
dc.subjectอินเตอร์เน็ตในการศึกษาen
dc.titleการนำเสนอรูปแบบการจัดการห้องเรียนเสมือนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต สำหรับนิสิตนักศึกษา ในสถาบันอุดมศึกษา สังกัดทบวงมหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeA proposed virtual classroom management model on the Internet for students in higher education institutions under the Ministry of University Affairsen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineโสตทัศนศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorVichuda.R@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2002.620-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anchana.pdf3.14 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.