Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31809
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorรวิวรรณ นิวาตพันธุ์-
dc.contributor.advisorสุชีรา ภัทรายุตวรรตน์-
dc.contributor.authorวรรณนิภา สมนาวรรณ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-06-01T05:46:41Z-
dc.date.available2013-06-01T05:46:41Z-
dc.date.issued2537-
dc.identifier.isbn9746310836-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/31809-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2537en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจภาระของครอบครัวในการดูแลอันเกิดจากอาการของผู้สูงอายุสมองเสื่อม ปัญหาทางด้านสังคมและเศรษฐกิจของครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุสมองเสื่อมที่บ้าน และภาวะความเครียดของผู้ดูแล โดยการสัมภาษณ์แบบเจาะลึกผู้ดูแลซึ่งเป็นบุคคลในครอบครัวเดียวกันกับผู้สูงอายุสมองเสื่อม ที่อาศัยอยู่ในชุมชนเขตพื้นที่รับผิดชอบของศูนย์บริการสาธารณสุข 3 บางซื่อ สำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร จำนวน 29 ราย ผลการวิจัยพบว่า ผู้สูงอายุสมองเสื่อม ก่อให้เกิดภาระแก่ผู้ดูแลในหลายด้าน ตามอาการดังนี้ คือ ความจำบกพร่อง ความผิดปกติของความคิด การสนทนาและการสื่อสาร การทำความสะอาดร่างกายและแต่งตัว การรับประทานอาหาร และการขับถ่าย การเคลื่อนไหว การนอนและพฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยด้านการสนทนาสื่อสารและปัญหาในการขับถ่ายเป็นด้านที่มีจำนวนผู้ดูแลเห็นว่าเป็นภาระมากที่สุด ส่วนปัญหาทางด้านสังคมและเศรษฐกิจพบว่า ผู้สูงอายุสมองเสื่อม ไม่ได้ก่อให้เกิดปัญหาทางด้านเศรษฐกิจแก่ผู้ดูแล แต่เกิดปัญหาทางสังคม โดยส่งผลกระทบต่อชีวิตประจำวันของผู้ดูแล ทั้งนี้ผู้ดูแลได้ใช้วิธีการแก้ไขแตกต่างกันไป แต่ยังมีผู้ดูแลหลายรายที่ไม่สามารถจัดการกับปัญหานี้ได้ นอกจากนี้ผู้ดูแลส่วนใหญ่ยังยอมรับว่าเป็นภาวะความเครียด เกิดผลกระทบทางด้านจิตใจ และมีความไม่สบายกายเกิดขึ้นen
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this study was to survey the burden of family in caring for the demented elderly at home, the socioeconomic problems and the stress of caregivers in the same family who live in communities area of the Public Health Center 3 Bang Sue, Bangkok. A case study of 29 caregivers were indepth interviewed. Family burden to caring for the demented elderly have been variouly described as forgetfulness, unusual thinking, speech and communication, Personal hygene in bathing and dressing mealtimes, incontinence, sleep disturbance, immobility and behavioural disturbance. Communication and incontinence were pointed as causing major burden more commonly than other points. The economic problem in caring for the demented elderly at home was not mentioned while the social effects on the caregivers dialy life were. Varies methods were used to cope these problems. However, many caregivers were unable to cope. Almost caregivers reported emotional distress and physical illnessen
dc.format.extent8015414 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการพยาบาลในเคหสถานen
dc.subjectผู้สูงอายุ -- การดูแลen
dc.subjectผู้สูงอายุ -- ความสัมพันธ์ในครอบครัวen
dc.subjectภาวะสมองเสื่อมen
dc.subjectผู้ดูแล -- แง่จิตวิทยาen
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา)en
dc.subjectHome nursingen
dc.subjectOlder people -- Careen
dc.subjectOlder people -- Domestic relationsen
dc.subjectDementiaen
dc.subjectCaregivers -- Psychological aspectsen
dc.subjectStress (Psychology)en
dc.titleการสำรวจภาระของครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุสมองเสื่อมที่บ้านen
dc.title.alternativeA survey of family burden to caring for the demented elderly at homeen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineจิตเวชศาสตร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorRaviwan.N@Chula.ac.th-
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wannipa_so.pdf7.83 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.