Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32104
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุชาติ ทวีพรปฐมกุล-
dc.contributor.authorวสิษฐา เปี่ยมสกุล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialขอนแก่น-
dc.date.accessioned2013-06-10T03:08:00Z-
dc.date.available2013-06-10T03:08:00Z-
dc.date.issued2554-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32104-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2554en
dc.description.abstractการศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวของจังหวัดขอนแก่น มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวของจังหวัดขอนแก่น และเปรียบเทียบศักยภาพด้านองค์ประกอบทางการท่องเที่ยว โดยจำแนกตามเพศและอายุ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ นักท่องเที่ยวชาวไทยที่เดินทางมาท่องเที่ยวในจังหวัดขอนแก่นจำนวน 400 คน ในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติ วัฒนธรรม ประวัติศาสตร์ และสนามกีฬา ได้แก่ อุทยานแห่งชาติภูเก้า-ภูพานคำ อุทยานแห่งชาติภูเวียง อุทยานแห่งชาติภูผาม่าน อุทยานแห่งชาติน้ำพอง เขื่อนอุบลรัตน์ หมู่บ้านเต่า หมู่บ้านงูจงอาง วัดหนองแวง สวนสัตว์เขาสวนกวาง และสนามกีฬากลางมหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยเลือก แบบบังเอิญเป็นเพศชาย จำนวน 202 คน เพศหญิงจำนวน 198 คน ผู้ตอบแบบสอบส่วนใหญ่ มีอายุระหว่าง 15 - 25 ปี เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์ในการวิเคราะห์ข้อมูลแบบสอบถามศักยภาพการท่องเที่ยวของจังหวัดขอนแก่น โดยการแจกแจงความถี่ หาค่าเฉลี่ย ร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การเปรียบเทียบ ความแตกต่างระหว่างเพศโดยใช้ค่าที (t-test) และการเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างอายุ โดยใช้ค่าเอฟ (F-test) ผลการวิจัย 1. การศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวของจังหวัดขอนแก่น ตามองค์ประกอบการท่องเที่ยวอยู่ในระดับมาก ได้แก่ แหล่งท่องเที่ยว แหล่งพักผ่อนหย่อนใจ การคมนาคม ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม ธุรกิจของที่ระลึก และธุรกิจที่พักแรม อยู่ในระดับปานกลาง ได้แก่ การผจญภัยและนันทนาการกลางแจ้ง การบริการทางการท่องเที่ยว และการจัดกิจกรรม 2. ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างขององค์ประกอบการท่องเที่ยวของจังหวัดขอนแก่นที่มีเพศแตกต่างกัน พบว่า ด้านแหล่งท่องเที่ยว มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3. ผลการเปรียบเทียบความแตกต่างขององค์ประกอบการท่องเที่ยวของจังหวัดขอนแก่นที่มีช่วงอายุแตกต่างกัน พบว่าด้านแหล่งท่องเที่ยว แหล่งพักผ่อนหย่อนใจ การผจญภัยและนันทนาการกลางแจ้ง การบริการทางการท่องเที่ยว ธุรกิจอาหารและเครื่องดื่ม ธุรกิจของที่ระลึก ธุรกิจที่พักแรม และการจัดกิจกรรม มีความคิดเห็นแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05en
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the tourism potentiality of Khon Kaen province as well as to study and to compare the potentiality of tourism factors classified by sex and age. The sample of this study were 400 accidentally - selected Thai tourists who travelled to Khon Kaen province, to visit natural, cultural and historical tourist’s attraction and stadium such as Phu Kao – Phu Phan Kham National Park, Phu Wiang National Park, Phu Pha Man National Park, Ubon Ratana Dam, Turtle Village, King Cobra Village, Wat Nong Wena, Khao Suan Kwang Zoo and central stadium of Khon Kaen University. The respondents contained 202 male and 198 female, aged between 15 – 25 years old. Questionnaire and interview were used to collect the data. The statistical analysis was analyzed in term of means, standard deviation, t-test and analysis of variance (F-test). The results were found as follow: 1) Studies of Khon Kaen tourisms’ potentiality by tourism sector were in high level in sector of attraction, recreation, transportation, food and beverage, souvenir and accommodation. In the sector of adventure and outdoor recreation, tourism services and activities’ tourism potentiality were in medium level. 2) The result of different comparison in tourism elements between sex found that only the attraction element was statistically different at 0.05 level. 3) The result of different comparison in tourism elements between ages found those elements of attraction, entertainment, adventure and outdoor recreation, transportation, tourism services, food and beverage, souvenir, accommodation and the event were statistically different at 0.05 level.en
dc.format.extent2716153 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2011.322-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectอุตสาหกรรมท่องเที่ยว -- ไทย -- ขอนแก่นen
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- ไทย -- ขอนแก่นen
dc.subjectทรัพยากรทางวัฒนธรรม -- ไทย -- ขอนแก่นen
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงประวัติศาสตร์ -- ไทย -- ขอนแก่นen
dc.subjectTourism -- Thailand -- Khon Kaenen
dc.subjectEcotourism -- Thailand -- Khon Kaenen
dc.subjectHeritage tourism -- Thailand -- Khon Kaenen
dc.titleการศึกษาศักยภาพการท่องเที่ยวของจังหวัดขอนแก่นen
dc.title.alternativeA study of tourism potentiality of Khon Kaen provinceen
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การกีฬาes
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorsuchart_ta@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2011.322-
Appears in Collections:Spt - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
wasittha_pi.pdf2.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.