Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32162
Title: | Social-economic impact of R3 road on Thailand, Lao PDR and Yunnan province (PRC) with focus on Lao PDR |
Other Titles: | ผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของเส้นทาง R3 ต่อประเทศไทย สปป. ลาว และมณฑลยูนนาน ประเทศจีน โดยเน้นที่ สปป. ลาว |
Authors: | Aoomlangsy Rajvong |
Advisors: | Withaya Sucharithanarugse |
Other author: | Chulalongkorn University. Graduate School |
Advisor's Email: | ไม่มีข้อมูล |
Subjects: | ถนน -- แง่เศรษฐกิจ -- เอเชีย ถนน -- แง่สังคม -- เอเชีย ถนน -- ไทย ถนน -- ลาว ถนน -- มณฑลยูนนาน (จีน) ลาว -- ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ -- ไทย ลาว -- ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศ -- จีน ลาว -- ภาวะเศรษฐกิจ ลาว -- ภาวะสังคม Roads -- Economic aspects -- Asia Roads -- Social aspects -- Asia Roads -- Thailand Roads -- Laos Roads -- Yunnan Sheng (China) Laos -- Foreign economic relations -- Thailand Laos -- Foreign economic relations -- China Laos -- Economic conditions Laos -- Social conditions |
Issue Date: | 2010 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | This study focused on studying the social-economic impacts from the R3 road on Lao PDR; particularly, on Bokeo Province and Luang Namtha Province. There were two levels in this research. First, the study on Bokeo and Luang Namtha provincial social-economic development which focused on three sectors: trade, investment, and agriculture. It provided a wider view on economic development of the two provinces. Second, the study was on the social-economic impacts on local communities adjacent to the R3 road. Twelve villages along the R3 road were studied in this research. In Huaysai District, Bokeo Province, there were five villages; and in Namtha District, Luang Namtha province, seven villages were studied on social-economic impacts of the R3 road. The research findings showed that the R3 road contributed to economic development on Thailand, Lao PDR and Yunnan Province, People’s Republic of China. The explicit evidences were the volume of trade among three parties has increased sharply since the completion of the R3 road in February 2008. The trans-border trade between Thailand and China increased more than two times from 2008 to 2009; thanks to the R3 road. Moreover, the R3 road provides better transportation, markets, economic opportunities, education, accessibility to healthcare services, and other services to Lao ethnic people along the road. However, the findings from case studies showed that the R3 road created negative social impacts to villagers in two aspects. First, the R3 road physical impacts such as land compensation, drainage system, road accidents, and the increase of land prices. Second, the impacts were from developments on the R3 road area; mainly, the investments. Therefore, this study revealed social-economic impacts of R3 and gave suggestions for problems on Lao PDR. |
Other Abstract: | การก่อสร้างถนนเป็นหนึ่งในนโยบายส่งเสริมการพัฒนาประเทศ และ เป็นยุทธศาสตร์ในการลบล้างความยากจน และ ยังสนับสนุนการค้า และ การลงทุนในเขตพื้นที่ต่างๆของถนน ถนน R3 ที่ก่อสร้างแล้วเสร็จเมื่อเดือนกุมภาพันธ์ ปี ค.ศ. 2008 ถนน R3 ได้เชื่อมโยงจุดผ่านแดน ไทย-ลาว (เชียงของ - ห้วยทราย) ในแขวงบ่อแก้ว ไปยังจุดผ่านแดนลาว - จีน (บ่อเต็น - โหมหาน) ในแขวงหลวงน้ำทา สปป. ลาว การศึกษาครั้งนี้ เน้นการศึกษาด้านผลกระทบทางเศรษฐกิจและสังคมของเส้นทาง R3 ต่อ สปป. ลาว โดยเฉพาะแขวงบ่อแก้วและแขวงบ่อน้ำทา การศึกษาถูกแบ่งออกเป็นสองระดับ ระดับแรก ศึกษาการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของแขวงบ่อแก้วและแขวงหลวงน้ำทา ซึ่งเน้นไปที่สามแขนงคือ การค้า การลงทุน และการเกษตร ที่จะแสดงให้เห็นภาพรวมของการพัฒนาทางเศรษฐกิจของทั้งสองแขวงดังกล่าว ระดับที่สอง ศึกษาผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมต่อชุมชนต่างๆ ที่อยู่ใกล้เส้นทาง R3 ในการศึกษาระดับที่สองนี้ มีหมู่บ้านจำนวนทั้งหมด 12 หมู่บ้านถูกนำมาศึกษา ในเมืองห้วยทราย แขวงบ่อแก้ว มีจำนวน 5 หมู่บ้าน และในเมืองน้ำทา แขวงหลวงน้ำทา มีจำนวน 7 หมู่บ้าน ผลของการวิจัย พบว่า เส้นทาง R3 เป็นส่วนประกอบของการพัฒนาเศรษฐกิจของ ไทย สปป.ลาว และมณฑล ยูนนาน สาธารณรัฐประชาชนจีน หลักฐานที่บ่งชี้คือ ปริมาณการค้าของทั้งสามประเทศได้เพิ่มขึ้นสูงหลังจากการสร้างเส้นทาง R3 ในเดือนกุมภาพันธ์ ปี 2008 ด้านการค้าผ่านแดนระหว่างประเทศไทย-จีน ได้เพิ่มขึ้นมากกว่าสองเท่าตัวนับตั้งแต่ ปี 2008 – 2009 ทั้งนี้เพราะเส้นทาง R3 ยิ่งไปกว่านั้นเส้นทาง R3 ทำให้การคมนาคมดีขึ้น การเข้าถึงตลาด โอกาสทางด้านเศรษฐกิจและการศึกษา การเข้าถึงการบริการด้านสาธารณสุขและการบริการอื่นๆ ของประชาชนลาวที่อาศัยอยู่ในบริเวณถนน แต่ทั้งนี้ทั้งนั้น ผลของการศึกษาจากกรณีศึกษาพบว่า เส้นทาง R3 ได้สร้างผลกระทบด้านลบทางสังคมให้แก่ชาวบ้านในสองรูปแบบดังนี้ รูปแบบที่หนึ่ง คือ ผลกระทบจากตัวเส้นทาง R3 โดยตรง เช่น การชดเชยที่ดิน ระบบระบายน้ำ และอุบัติเหตุตามท้องถนน และการเพิ่มขึ้นของราคาที่ดิน ผลกระทบรูปแบบที่สองเกิดจากการพัฒนาในพื้นที่เส้นทาง R3 โดยเฉพาะอย่างยิ่งในด้านการลงทุนต่างๆ ด้วยเหตุนี้ การศึกษาครั้งนี้แสดงให้เห็นผลกระทบด้านเศรษฐกิจและสังคมของเส้นทาง R3 และได้ให้ข้อเสนอแนะในการแก้ไขปัญหาต่างๆ ใน สปป.ลาว |
Description: | Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2010 |
Degree Name: | Master of Arts |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Southeast Asian Studies (Inter-Department) |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32162 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1156 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2010.1156 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
alomlangsy_ra.pdf | 12.65 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.