Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32230
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ โควาวิสารัช-
dc.contributor.advisorไพบูลย์ เตชะเลิศไพศาล-
dc.contributor.authorเอกรัชต์ ปฏิการมณฑล-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-06-17T14:50:17Z-
dc.date.available2013-06-17T14:50:17Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32230-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้นำเสนอเครื่องมือประมวลผลภาพดิจิทัลสำหรับหาตำแหน่งจุดกำหนดภาพรังสีวัดศีรษะ (ระยะที่ 1) โดยจุดกำหนดภาพรังสีวัดศีรษะเป็นข้อมูลเบื้องต้นที่สำคัญสำหรับทันตแพทย์จัดฟันซึ่งนำไปใช้วัดค่ามุม ระยะทาง หรืออัตราส่วนความยาวระหว่างจุดต่างๆ เพื่อใช้ ในการวิเคราะห์และวินิจฉัยสำหรับวางแผนการรักษาการจัดฟัน งานวิจัยนี้ได้ทำการค้นหาตำแหน่งของจุดกำหนดภาพรังสีวัดศีรษะแบบอัตโนมัติ 17 จุด จากทั้งหมด 40 จุด ซึ่งเป็นจุด กำหนดภาพรังสีวัดศีรษะที่ใช้ในการคำนวณและวิเคราะห์เบื้องต้นของภาควิชาทันตกรรมการจัดฟัน คณะทันตแพทย์ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย วิธีการค้นหาตำแหน่งจุดกำหนดภาพรังสีวัดศีรษะโดยอัตโนมัติเริ่มจากการปรับภาพให้เป็นบรรทัดฐานเดียวกันแล้วจึงประยุกต์ใช้วิธีการ ประมวลผลภาพดิจิทัลต่างๆ เพื่อค้นหาตำแหน่งของแต่ละจุด จากผลการทดลองค้นหาตำแหน่งจุดกำหนดภาพรังสีวัดศีรษะแบบอัตโนมัติ จำนวน 17 จุดต่อ 1 ภาพโดยใช้ภาพรังสีวัดศีรษะทดสอบจำนวน 23 ภาพ ประเมินด้วยเกณฑ์ความถูกต้องที่เป็นที่ยอมรับกันในหมู่ทันตแพทย์จัดฟัน คือระยะห่างไม่เกิน 5 มิลลิเมตรจากตำแหน่งที่ถูกต้องที่กำหนดโดยทันตแพทย์ สามารถค้นหาจุดที่มีระยะห่างน้อยกว่า 5 มิลลิเมตรคิดเป็นร้อยละ 76.21 ระยะห่างน้อยกว่า 3 มิลลิเมตรคิดเป็นร้อยละ 67.52 และระยะห่างมากกว่า 5 มิลลิเมตรคิดเป็น ร้อยละ 23.79en_US
dc.description.abstractalternativeThis research purposes a digital image processing tool for cephalometric landmark localization (phase 1). This type of landmarks is essential in that orthodontists use calculate them to distances, degrees or length ratios for orthodontic treatment. This research is interested in automatically localization or 17 Cephalometric landmarks, 40 in total. These landmarks are used as a preliminary analysis and calculation of orthodontist at orthodontics department of Chulalongkorn University. The landmark detection process starts with normalization of radiograph images. Many difference image processing are applied for individual landmark. Our experiments of automatically detecting 17 landmarks per image, from 23 images, indicate very high positive results. Based on orthodontists’ acceptable range, that is 5 millimeters from ground truth locations, 76.21% are correctly detected while 67.52% are within 3 millimeters. False detection rate is 23.79%.en_US
dc.language.isothes
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1473-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectเซฟาโลเมทรีen_US
dc.subjectการประมวลผลภาพen_US
dc.subjectการประมวลผลภาพ -- เทคนิคดิจิตอลen_US
dc.subjectCephalometryen_US
dc.subjectImage processingen_US
dc.subjectImage processing--Digital techniqueen_US
dc.titleเครื่องมือประมวลผลภาพดิจิทัลสำหรับหาตำแหน่งจุดกำหนดภาพรังสีวัดศีรษะ (ระยะที่ 1)en_US
dc.title.alternativeA digital image processing tool for cephalometric landmark localization (phase 1)en_US
dc.typeThesises
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตes
dc.degree.levelปริญญาโทes
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์คอมพิวเตอร์es
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisornongluk.c@chula.ac.th-
dc.email.advisorPaiboon.T@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1473-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
eakkarach_pa.pdf8.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.