Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32593
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประวิตร อัศวานนท์-
dc.contributor.authorพิชัย แซ่ลิ่ม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-01T09:49:19Z-
dc.date.available2013-07-01T09:49:19Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32593-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractความสำคัญและที่มาของงานวิจัย : โรคเคอราโตซีส พิลาริส เป็นโรคผิวหนังที่พบได้บ่อยในวัยรุ่น การรักษาโรคเคอราโตซีส พิลาริส ด้วยยาทา ส่วนใหญ่ได้ผลไม่ดี และการนำเลเซอร์มาใช้ในการรักษายังมีการศึกษาค่อนข้างน้อย วัตถุประสงค์ : เพื่อประเมินประสิทธิผลของการรักษาโรคเคอราโตซีส พิลาริส ด้วยเลเซอร์ชนิดลองพัลส์ เอ็นดี:แย้ก วิธีการศึกษา : ผู้เข้าร่วมการศึกษาที่มีรอยโรคเคอราโตซีส พิลาริส ที่ต้นแขนด้านนอกทั้งสองข้าง จำนวน 18 คน ต้นแขนข้างหนึ่งรักษาด้วยเลเซอร์ลองพัลส์ เอ็นดี:แย้ก ความยาวคลื่น 1064 นาโนเมตร พลังงาน 34 J/cm², 30 msec ทุก 4 สัปดาห์ รวม 3 ครั้ง และติดตามการรักษาอีก 4 สัปดาห์หลังการรักษาครั้งสุดท้าย ต้นแขนด้านที่ไม่ได้รับการรักษาเป็นกลุ่มควบคุม ประเมินผลการรักษาโดยแพทย์ผิวหนัง 3 ท่าน จากภาพถ่าย ก่อนและหลังการรักษา ผลการศึกษา : ผู้เข้าร่วมวิจัย 17 คน จากผลการศึกษาพบว่า ลักษณะโดยรวม, ความแดงและจำนวนผื่นโดยรวมของผื่นเคอราโตซีส พิลาริสลดลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม (p<0.05) แต่ไม่พบความเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ในด้านความขรุขระของผื่นเมื่อเทียบกับกลุ่มควบคุม อย่างไรก็ตาม เมื่อสิ้นสุดโครงการวิจัย ผู้เข้าร่วมวิจัยทั้งหมดรู้สึกว่าผื่นดีขึ้น และพึงพอใจต่อการรักษา และไม่พบผลข้างเคียงจากการรักษาด้วยเลเซอร์ในผู้เข้าร่วมวิจัยเลย สรุปผล : เลเซอร์ลองพัลส์ เอ็นดี:แย้ก ความยาวคลื่น 1064 นาโนเมตรสามารถลดรอยโรคเคอราโตซีส พิลาริสที่ต้นแขนด้านนอกดีกว่ากลุ่มควบคุม ที่ 4 สัปดาห์หลังการรักษาครั้งสุดท้ายen_US
dc.description.abstractalternativeBackground: Keratosis pilaris is a common disorder in adolescence. Topical treatment including emollients, lactic acid, salicylic acid and retinoic acid have provided unsatisfactory results and there are few reports regarding laser for keratosis pilaris. Objectives: To evaluate the efficacy of long-pulsed Nd:YAG laser for the treatment of keratosis pilaris lesions. Materials and Methods: Eighteen patients with untreated keratosis pilaris on the upper outer arms were enrolled in a randomized clinical trial. One arm was treated with 1064 nm long-pulsed Nd:YAG laser at pulse width 30 msec, fluence 34 J/cm². The patients received 3 consecutive treatments at 4-week intervals. At baseline, 4 weeks after the last treatment, photographs were taken. Three blinded dermatologists assessed digital photographs using a quartile grading system to rate a global assessment score, erythema score and hyperkeratotic papules score. Results: Seventeen patients completed the study. There were statistically significant differences in global improvement scores, erythema scores and hyperkeratotic papules scores at 4 weeks after the last treatment (p < .05). All patients stated that their lesions improved and were satisfied with the laser treatment. Conclusion: 1064 nm long-pulsed Nd:YAG laser has been shown to improve keratosis pilaris at the upper outer arms when compared with control at 4 weeks after the last treatment.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1704-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectผิวหนัง -- โรค -- การรักษาen_US
dc.subjectเคอราโตซิส -- การรักษาen_US
dc.subjectผิวหนัง -- โรค -- ศัลยกรรมด้วยแสงเลเซอร์en_US
dc.subjectเคอราโตซิส -- ศัลยกรรมด้วยแสงเลเซอร์en_US
dc.subjectนีโอดีเมียม-แย็ก เลเซอร์ -- การใช้รักษาen_US
dc.subjectSkin -- Diseases -- Treatmenten_US
dc.subjectKeratosis -- Treatmenten_US
dc.subjectSkin -- Diseases -- Laser surgeryen_US
dc.subjectKeratosis -- Laser surgeryen_US
dc.subjectNd-YAG lasers -- Therapeutic useen_US
dc.titleการรักษารอยโรคเคอราโตซีส พิลาริส โดยใช้เลเซอร์ชนิดลองพัลส์ เอ็นดี:แย้กen_US
dc.title.alternativeLong-pulsed Nd:YAG laser for the treatment of keratosis pilaris lesionsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorfibrosis@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1704-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pichai_sa.pdf1.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.