Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32749
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดุลยพงศ์ วงศ์แสวง-
dc.contributor.authorวีรพล จินโจ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-07-03T04:54:12Z-
dc.date.available2013-07-03T04:54:12Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/32749-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการปรับปรุงสมบัติเชิงกลของแผ่นอะครีลิคที่ผลิตโดยใช้รังสีแกมมา ทำให้เกิดกระบวนการพอลิเมอไรเซชัน เพื่อลดความเค้นตกค้างในแผ่นอะครีลิค และลดโมโนเมอร์ที่หลงเหลืออยู่ จากการทดสอบคุณสมบัติเชิงกล ได้แก่ สมบัติการทนต่อแรงดึง สมบัติการทนต่อแรงกระแทกและสมบัติความแข็ง พบว่า การใช้รังสีแกมมาในกระบวนการพอลิเมอ- ไรเซชันในการผลิตแผ่นอะครีลิค ช่วยปรับปรุงคุณสมบัติการทนต่อแรงดึง โดยมีค่าความเค้นสูงสุดเพิ่มขึ้น 18.48 เปอร์เซ็นต์สำหรับแผ่นอะครีลิคขนาด 3 มิลลิเมตร และ 4.97 เปอร์เซ็นต์สำหรับแผ่นอะครีลิคขนาด 6 มิลลิเมตร เมื่อเทียบกับแผ่น อะครีลิคทั่วไป นอกจากนี้คุณสมบัติการทนต่อแรงกระแทกมีค่าเพิ่มขึ้น โดยค่าทนต่อแรงกระแทกเพิ่มขึ้น 12.07 เปอร์เซ็นต์สำหรับแผ่นอะครีลิคขนาด 3 มิลลิเมตร และ 11.23 เปอร์เซ็นต์สำหรับแผ่นอะครีลิคขนาด 6 มิลลิเมตร ส่วนค่าความแข็งมีค่าลดลง เมื่อเทียบกับแผ่นอะครีลิคทั่วไป สำหรับปริมาณรังสีที่เหมาะสมในการผลิตแผ่นอะครีลิคคือ 20 กิโลเกรย์en_US
dc.description.abstractalternativeThis research work studied improvement of mechanical properties of acrylic sheets by gamma radiation polymerization, in order to reduce residual stress and residual monomer in acrylic sheets. Mechanical property tests such as tensile strength, impact strength and hardness revealed that gamma radiation polymerization during acrylic sheet fabrication increased tensile properties. The maximum stress increased by 18.48 percent for 3 mm. thick acrylic sheets and 4.97 percent for 6 mm. thick acrylic sheets compared with a generic acrylic sheet. In addition, the impact strength property increased by 12.07 percent for 3 mm. thick acrylic sheets and 11.23 percent for 6 mm. thick acrylic sheets compared with a generic acrylic sheet. On the other hand, the shore D hardness decreased compared with a generic acrylic sheet. The suitable gamma irradiation dose for acrylic sheet fabrication was 20 kGy.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1300-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเรซินอะคริลิก -- สมบัติทางกลen_US
dc.subjectรังสีแกมมาen_US
dc.subjectโพลิเมอไรเซชันen_US
dc.subjectAcrylic resins -- Mechanical propertiesen_US
dc.subjectGamma raysen_US
dc.subjectPolymerizationen_US
dc.titleการปรับปรุงคุณสมบัติเชิงกลของแผ่นอะครีลิคที่ผลิตโดยใช้กระบวนการพอลิเมอไรเซชันด้วยรังสีแกมมาen_US
dc.title.alternativeImprovement of mechanical properties of acrylic sheets prepared by gamma radiation polymerizationen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิวเคลียร์เทคโนโลยีen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisordoonyapo@berkeley.edu-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1300-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
weerapol_ji.pdf2.34 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.