Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3283
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญพิไล ฤทธาคณานนท์en_US
dc.contributor.authorกาญจนา กระต่ายทอง, 2514-en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2007-01-04T07:45:14Zen_US
dc.date.available2007-01-04T07:45:14Zen_US
dc.date.issued2542en_US
dc.identifier.isbn9743340718en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3283en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en_US
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการจัดหมวดหมู่ของวัตถุที่เสนอเป็นคำพูดและเป็นภาพ ในเด็กอายุ 3 ถึง 5 ปี การวิจัยนี้ใช้กลุ่มตัวอย่าง จำนวน 240 คน เพศชาย 120 คน และเพศหญิง 120 คน อายุระหว่าง 3 ถึง 5 ปี โดยดัดแปลงเครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบมาจากการศึกษาของ Tversky (1985) เพื่อให้เหมาะสมกับเด็กไทย สถิติที่นำมาใช้ในการวิเคราะห์ในครั้งนี้คือ การวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทาง (Two-way ANOVA) ผลการวิจัยพบว่า 1. เด็กอายุ 3 ปี มีคะแนนการจัดหมวดหมู่ตามการรับรู้มากกว่าเด็กอายุ 4 ปี และ 5 ปี ตามลำดับ ทั้งในเงื่อนไขการเสนอวัตถุเป็นภาพ และเงื่อนไขการเสนอวัตถุเป็นคำพูดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. เด็กอายุ 5 ปี และ 4 ปี มีคะแนนการจัดหมวดหมู่ตามประเภทของวัตถุมากกว่าเด็กอายุ 3 ปี อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 แต่เด็กอายุ 5 ปี และ 4 ปี มีคะแนนการจัดหมวดหมู่ตามประเภทของวัตถุไม่แตกต่างกัน 3. เด็กอายุ 3 ถึง5 ปี มีคะแนนการจัดหมวดหมู่ตามประเภทของวัตถุในเงื่อนไขการเสนอวัตถุเป็นคำพูดมากกว่าในเงื่อนไขการเสนอวัตถุเป็นภาพอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this thesis was to compare the taxonomic organization ability of named and pictured objects in three-to-five-year-old children. There were 240 subjects in the study : 120 boys and 120 girls of 3 different age groups, ranging from 3-5 years old. The task devised by Tversky (1985) was modified to make it culturally appropriate for Thai children, and used as an assessment instrument for this study. Two-way analysis of variance was utilized for statistical analysis. The results of this research were as follows: 1. Three year-old children demonstrated significantly better perceptual organization scores than four and five year-old children (p<.05) in both name and pictured object conditions. 2. Five and four year-old children demonstrated significantly better taxonomic organization scores than three year-old children (p<.05). However there was no difference in taxonomic organization scores between five and four year-old children. 3. Three-to-five-year-old children demonstrated significantly (p<.05)better taxonomic organization scores in named object condition than in pictured object condition.en_US
dc.format.extent9518606 bytesen_US
dc.format.extent1843 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.format.mimetypetext/plain-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectเด็กวัยก่อนเข้าเรียนen_US
dc.subjectความจำen_US
dc.subjectพัฒนาการของเด็กen_US
dc.subjectการรับรู้ในเด็กen_US
dc.subjectการรับรู้ภาพen_US
dc.titleการเปรียบเทียบความสามารถในการจัดหมวดหมู่ของวัตถุที่เสนอเป็นคำพูดและเป็นภาพในเด็กอายุ 3 ถึง 5 ปีen_US
dc.title.alternativeA comparison of taxonomic organization ability of named and pictured objects in three-to-five-year-old childrenen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาพัฒนาการen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPenpilai.R@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kanchana_k.pdf6.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.