Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3285
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุภาพรรณ โคตรจรัสen_US
dc.contributor.authorพรธิดา ศรีสะอาด, 2504-en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2007-01-04T09:21:46Zen_US
dc.date.available2007-01-04T09:21:46Zen_US
dc.date.issued2542en_US
dc.identifier.isbn9743344195en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3285en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวพิจารณาความเป็นจริงต่อการเผชิญความเครียดในผู้ติดเชื้อเอชไอวี โดยมีสมมติฐานการวิจัย คือ (1) หลังการทดลองผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้ารับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มจะมีคะแนนการเผชิญความเครียดด้านมุ่งเน้นการแก้ปัญหาและด้านมุ่งเน้นทางอารมณ์ที่สนับสนุนการแก้ปัญหาสูงกว่าก่อนเข้าร่วมกลุ่มและสูงกว่าคะแนนของกลุ่มควบคุม (2) หลังการทดลองผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้ารับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มจะมีคะแนนการเผชิญความเครียดด้านการหลีกเลี่ยงปัญหาต่ำกว่าก่อนเข้าร่วมกลุ่มและต่ำกว่าคะแนนของกลุ่มควบคุม การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองแบบมีกลุ่มควบคุมทดสอบก่อนและหลังการทดลอง (pretest-posttest control group design) กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ติดเชื้อเอชไอวีจำนวน 16 คน ซึ่งสุ่มจากผู้ติดเชื้อที่ได้คะแนนจากแบบวัดการเผชิญความเครียดในด้านมุ่งเน้นการแก้ปัญหาและด้านมุ่งอารมณ์ที่สนับสนุนการแก้ปัญหาที่เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 30 และต่ำกว่า และคะแนนในด้านการหลีกเลี่ยงปัญหาที่เปอร์เซ็นต์ไทล์ที่ 70 และสูงกว่า สุ่มเป็นกลุ่มทดลอง 8 คน กลุ่มควบคุม 8 คน กลุ่มทดลองได้เข้ารับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวพิจารณาความเป็นจริงทั้งหมด 8 ครั้ง เป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์ติดต่อกัน สัปดาห์ละ 2 ถึง 3 ครั้งๆ ละ 2.30 ชั่วโมง โดยผู้วิจัยเป็นผู้นำกลุ่ม เครื่องมือที่ใช้ในการคือแบบวัดการเผชิญความเครียด (The ways of Coping Questionnaire) ซึ่งพัฒนามาจากแบบวัดการเผชิญความเครียดของโฟล์คแมนและลาซารัส วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการทดสอบความแตกต่างของค่าเฉลี่ยของคะแนนการเผชิญความเครียดด้วยวิธีการทดสอบค่าที (t-test) ผลการวิจัยพบว่า (1) หลังการทดลองผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้ารับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม มีคะแนนการเผชิญความเครียดด้านมุ่งเน้นการแก้ปัญหาและด้านมุ่งเน้นทางอารมณ์ที่สนับสนุนการแก้ปัญหาสูงกว่าก่อนเข้ากลุ่มและสูงกว่าผู้ติดเชื้อที่ไม่ได้เข้ากลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) หลังการทดลองผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้ารับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม มีคะแนนการเผชิญความเครียดด้านมุ่งเน้นการแก้ปัญหาและด้านมุ่งเน้นทางอารมณ์ที่สนับสนุนการแก้ปัญหาสูงกว่าก่อนเข้ากลุ่มและสูงกว่าผู้ติดเชื้อที่ไม่ได้เข้ากลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (2) หลังการทดลองผู้ติดเชื้อเอชไอวีที่เข้ารับการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่ม มีคะแนนการเผชิญความเครียดด้านการหลีกเลี่ยงปัญหาต่ำกว่าก่อนเข้ากลุ่มและต่ำกว่าผู้ติดเชื้อที่ไม่ได้เข้ากลุ่มอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effect of reality therapy group on coping with stress in HIV infected persons. The hypotheses were that (1) the posttest scores on the problem-focused coping scale and the functional emotion- focused coping scale of the experimental group would be higher than its pretest scores and the posttest scores of the control group. (2) the posttest scores on the avoidance- focused coping scale of the experimental group would be lower than its pretest scores and the posttest scores of the control group. The research design was the pretest-posttest control group design. The samples was 16 HIV infected persons randomly selected from the HIV infected persons who scored at the 30 percentile and below onthe problem- focused coping scale and the functional emotion- focused coping scale, and scored at the 70 percentile and above on avoidance- focused coping scale. They were randomly assigned to the experimental group, and the control group, each group comprising 8 persons. The experimental group participated in a group reality therapy program conducted by the researcher, for a session of two and a half hours, two or three sessions a week over a period of 3 consecutive weeks for the total of 8 sessions, which made approximately 20 hours. The intrument used in this study was the ways of coping questionnaire developed from folkman and Lazarus's ways of coping questionnaire. The t-test was ultilized for data analysis. The results indicated that: (1) The posttest scores on the problem-focused coping scale and the functional emotion-focused coping scale of the experimental group were higher than its pretest scores and higher than the posttest scores of the control group at .01 level of significance. (2) The posttest scores on the avoidance- focused coping scale of the experimental group were lower than its pretest scores and lower than the posttest scores of the control group at .01 level of significance.en_US
dc.format.extent15516415 bytesen_US
dc.format.extent1843 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.format.mimetypetext/plain-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการให้คำปรึกษาแบบกลุ่มen_US
dc.subjectความเครียด (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectผู้ติดเชื้อเอชไอวีen_US
dc.subjectจิตบำบัดแบบเผชิญความจริงen_US
dc.titleผลของการปรึกษาเชิงจิตวิทยาแบบกลุ่มตามแนวพิจารณาความเป็นจริง ต่อการเผชิญความเครียดในผู้ติดเชื้อเอชไอวีen_US
dc.title.alternativeThe effect of reality therapy group on coping with stress in HIV infected personsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาการปรึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorksupapan@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
porntida.pdf12.15 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.