Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3286
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorคัคนางค์ มณีศรีen_US
dc.contributor.authorวาริน เทพยายน, 2518-en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยาen_US
dc.date.accessioned2007-01-04T09:48:42Zen_US
dc.date.available2007-01-04T09:48:42Zen_US
dc.date.issued2542en_US
dc.identifier.isbn9743344799en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3286en_US
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2542en_US
dc.description.abstractศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะบุคลิกภาพ ความพึงพอใจในความสัมพันธ์ กับรูปแบบความรักของคู่รัก ที่ยังมิได้สมรสจำนวน 100 คู่ ตอบแบบสอบถาม 3 ฉบับได้แก่ มาตรวัดเจตคติเกี่ยวกับความรัก มาตรวัดความพึงพอใจในความสัมพันธ์ และแบบวัดบุคลิกภาพที่พัฒนามาจาก Myers-Briggs Type Indicator ผลการวิจัยพบว่า 1. ลักษณะการตัดสิน โดยใช้ความคิด มีสหสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางลบกับความรักแบบลุ่มหลง (P<.001) ลักษณะการตัดสินโดยใช้ความรู้สึกมีสหสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางบวก กับความรักแบบลุ่มหลง และมีสหสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางลบกับความรักแบบไม่ผูกมัด และความรักแบบใช้เหตุและผล (P<.05) ลักษณะแนวการปฏิบัติตัวแบบมีแบบแผน มีสหสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางลบ กับความรักแบบไม่ผูกมัด (P<.05) ลักษณะแนวการปฏิบัติตัวแบบยืดหยุ่น มีสหสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางบวก กับความรักแบบไม่ผูกมัด และความรักแบบลุ่มหลง (P<.05) ส่วนลักษณะบุคลิกภาพด้านอื่นๆ ไม่มีความสัมพันธ์กับรูปแบบของความรักอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. ความรักแบบเสน่หา ความรักแบบเสียสละ และความรักแบบมิตรภาพ มีสหสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางบวก กับความพึงพอใจในความสัมพันธ์ (P<.001) และความรักแบบไม่ผูกมัดมีสหสัมพันธ์เชิงเส้นตรงทางลบ กับความพึงพอใจในความสัมพันธ์ (P<.001) ส่วนความรักแบบใช้เหตุและผล และความรักแบบลุ่มหลง ไม่มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในความสัมพันธ์ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติen_US
dc.description.abstractalternativeTo study relationships among personality traits, relationship satisfaction, and love attitudes of dating couples. Three measures: the love attitudes scale, the relationship satisfaction scale, and the personality test developed from the Myers-Briggs Type Indicator were given to 100 dating couples. Results show that: 1. Thinking dimension correlates negatively with Mania style (p<.001). Feeling dimension correlates positively with Mania style and correlates negatively with Ludus style and Pragma style (p<.05). Judgment dimension correlates negatively with Ludus style (p<.05). Perception dimension correlates positively with Ludus style and Mania style (p<.05). There are no significant linear correlations between other dimensions and love styles. 2. Eros style, Agape style, and Storge style correlates positively witn relationship satisfaction (p<.001). Ludus style correlates negatively with relationship satisfaction (p<.001). There are no significant linear correlations between Pragma and Mania style, and relationship satisfaction.en_US
dc.format.extent15648316 bytesen_US
dc.format.extent1843 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdfen_US
dc.format.mimetypetext/plain-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความรักen_US
dc.subjectความพอใจen_US
dc.subjectบุคลิกภาพen_US
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะบุคลิกภาพ ความพึงพอใจในความสัมพันธ์กับรูปแบบความรักของคู่รักen_US
dc.title.alternativeRelationships between personality traits, relationship satisfaction, and love style of dating couplesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineจิตวิทยาสังคมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorkakanang.M@chula.ac.then_US
Appears in Collections:Psy - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Warin.pdf6.48 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.