Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33063
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | พิมพ์พันธ์ เดชะคุปต์ | - |
dc.contributor.advisor | ยุรวัฒน์ คล้ายมงคล | - |
dc.contributor.author | นพเรศวร์ ธรรมศรัณยกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2013-07-13T12:57:09Z | - |
dc.date.available | 2013-07-13T12:57:09Z | - |
dc.date.issued | 2553 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/33063 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (ค.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยประยุกต์รูปแบบ 4 ขั้นตอนของสเติร์นเบิร์กเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 และ 2) ประเมินประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น โดยการตรวจสอบคุณภาพกระบวนการเรียนการสอนจากผู้ทรงคุณวุฒิ และทดสอบประสิทธิผลของกระบวนการเรียนการสอนโดยนำไปใช้กับนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 ที่เป็นกลุ่มตัวอย่างคือนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนบ้านในเวียง จำนวน 2 ห้องเรียน จำนวนนักเรียน 37 คน เป็นกลุ่มทดลอง 18 คนและกลุ่มควบคุม 19 คน ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง 12 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบวัดความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ซึ่งมีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.85 การวิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ความแปรปรวนร่วม ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ 1. กระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีวัตถุประสงค์เพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 โดยมีขั้นตอนการเรียนการสอน 4 ขั้นตอนหลักได้แก่ 1) ขั้นการมีปฏิสัมพันธ์กับสถานการณ์ปัญหาจริง 2) ขั้นการวิเคราะห์กระบวนการแก้ปัญหาภายในกลุ่ม 3) ขั้นกระบวนการแก้ปัญหาและมองย้อนกลับภายในกลุ่มและระหว่างกลุ่ม 4) ขั้นการประยุกต์ขั้นตอนของการแก้ปัญหากับปัญหาใหม่เป็นรายบุคคล 2. ผลการประเมินประสิทธิภาพของกระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นเป็นดังนี้ 2.1 กระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีคุณภาพจากการตรวจสอบของผู้ทรงคุณวุฒิ 2.2 กระบวนการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้นมีประสิทธิผลจากการนำไปใช้ในการทดลองซึ่งปรากฏผลดังนี้ 2.2.1 นักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองได้คะแนนเฉลี่ยความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์หลังการทดลองสูงกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2.2.2 นักเรียนที่เป็นกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยความสามารถในการแก้ปัญหาทางคณิตศาสตร์ หลังเรียนสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purposes of research were to 1) develop an instructional process applying Sternberg’s four- step model to enhance mathematical problem-solving abilities of sixth grade students and 2) evaluate the effectiveness of this developed instructional process by two means; the quality of the developed process was evaluated by experts, and its productivity was investigated by mean of implementing in classroom. Thirty seven students of sixth grade students at Bannaiwieng School, Phrae Province were selected as subjects of the 12 week experimental period. They were divided into two groups with 18 students in the experimental group and 19 students in the control group. The instrument was the mathematical problem-solving ability test with validity at 0.85, which was developed by applying Sternberg’s four-step model. Data were analyzed by using ANCOVA. The results of the research were as follows: 1. The developed instructional process was aimed to enhance problem-solving ability. The procedure was comprised of 4 instructional steps, i.e. 1) interacting to mathematics situations/problems, 2) analyzing solutions within group, 3) solving problems and giving feedback within and between groups, and 4) applying solution to new problems individually 2. The effectiveness of the developed process were as follows: 2.1 This developed process was qualified and approved by experts. 2.2 The effectiveness of this developed instructional process was examined by implementing in experimental and control group. The results were as follows: 2.2.1 The mathematical problem-solving abilities of students after learning from the developed instructional process was significantly higher than those of before at .05 level of significance. 2.2.2 The mathematical problem-solving abilities of students in the experimental group after learning from the developed instructional process was significantly higher than those of students in the control group at .05 level of significance. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1329 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | คณิตศาสตร์ -- การศึกษาและการสอน (ประถมศึกษา) | en_US |
dc.subject | ความสามารถทางคณิตศาสตร์ | en_US |
dc.subject | การแก้ปัญหา | en_US |
dc.subject | Mathematics -- Study and teaching (Elementary) | en_US |
dc.subject | Mathematical ability | en_US |
dc.subject | Problem solving | en_US |
dc.title | การพัฒนากระบวนการเรียนการสอนโดยประยุกต์รูปแบบ 4 ขั้นตอน ของสเติร์นเบิร์กเพื่อเสริมสร้างความสามารถในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์ของนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 | en_US |
dc.title.alternative | Development of an instructional process applying Sternberg’s four-step model to enhance mathematical problem-solving abilities of sixth grade students | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาเอก | en_US |
dc.degree.discipline | หลักสูตรและการสอน | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | Pimpan.D@Chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | Yurawat.K@Chula.ac.th | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2010.1329 | - |
Appears in Collections: | Edu - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
nopharet_th.pdf | 3.08 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.