Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34468
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประสิทธิ์ โฆวิไลกูล-
dc.contributor.advisorสุรเกียรติ์ เสถียรไทย-
dc.contributor.authorอนันต์ จรุงวิทยานนท์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย-
dc.date.accessioned2013-08-09T09:25:25Z-
dc.date.available2013-08-09T09:25:25Z-
dc.date.issued2535-
dc.identifier.isbn9745815195-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/34468-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2535en_US
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษารูปแบบขององค์กรและกระบวนการในการปฏิรูปกฎหมายเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม พร้อมทั้งศึกษาองค์กรในการปฏิรูปกฎหมายในประเทศอังกฤษ สิงคโปร์ และแคนาดา เป็นตัวอย่างเพื่อนำมาวิเคราะห์กับคณะกรรมการพัฒนากฎหมายตามพระราชบัญญัติ คณะกรรมการกฤษฎีกา ฉบับที่ 3 พ.ศ. 2534 และแนวทางการพัฒนากฎหมายในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 ผลการศึกษาพบว่าบรรดากฎหมายที่ใช้อยู่ในประเทศไทยเป็นจำนวนมากเป็นบทบัญญัติที่ไม่ทันต่อเหตุการณ์ เป็นอุปสรรคต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม จึงได้เริ่มให้ความสนใจที่จะนำกฎหมายมาใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 6 โดยให้มีการปรับปรุงแก้ไขในเรื่องระเบียบข้อบังคับ ซึ่งเป็นกฎหมายระดับอนุบัญญัติ ต่อมาในช่วงแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 จึงได้มีแนวทางที่จะจัดตั้งองค์กรในการปฏิรูปกฎหมายเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมที่มีความเป็นกลางและอิสระ สามารถกำหนดนโยบายทั้งระยะสั้นและระยะยาวได้ด้วย เพราะในการตรากฎหมายที่สำคัญต้องมีการศึกษาวิจัยอย่างเป็นระบบ มีลักษณะสหวิชาการ ซึ่งคณะกรรมการพัฒนากฎหมายที่จัดตั้งขึ้นยังไม่มีคุณสมบัติดังกล่าว เพราะประกอบด้วยกรรมการร่างกฎหมายเป็นส่วนใหญ่ ซึ่งเป็นกลไกของฝ่ายบริหาร และการริเริ่มงานวิจัยในเรื่องใด กฎหมายบัญญัติให้เป็นหน้าที่ของสำนักงานคณะกรรมการกฤษฎีกาในอนาคตจึงสมควรที่จะได้มีการแก้ไขกฎหมายเพื่อให้มีองค์กรปฏิรูปกฎหมายตามแนวทางในแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 7 ซึ่งรูปแบบขององค์กรและกระบวนการในการปฏิรูปกฎหมายที่มีประสิทธิภาพมีความจำเป็นต่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมนั้นจะต้องมีองค์กรระดับคณะกรรมการที่เป็นกลาง อิสระและกำหนดนโยบายได้เอง ส่วนฝ่ายเลขานุการที่จะทำหน้าที่สนับสนุนคณะกรรมการจะต้องเป็นนิติกรที่มีความรู้ความสามารถ-
dc.description.abstractalternativeThe main purpose of this study is to analyse organization and process of law reform to facilitate and bolster economic and social development process in Thailand. In this context, organizations and processes of law reform in United Kingdom, Singapore and Canada have been briefly reviewed and employed as a guideline for analyzing Law Reform Commission based upon the Third Juridical council Act 1991 and policy guideline for law reform in the Seventh National Economic and Social Developent Plan (1992-1996). The result of the study suggests that a great number of laws and regulations are outmoded and become a serious constraint to the process of economic and social development in Thailand. During the Sixth Plan period (1987-1991) the government has paid more concentration on law reform. As a consequence, efforts were put on revise of several regulations and procedures which did not yield far-reaching effects. When the Seventh Plan (1992-1996) has been introduced, a neutral institution is conceived to efficiently conduct law reform in order to cope with rapid changes in economic and social situations. The neutral body must have its own capacity to conduct research and development with systematically interdisciplinary approach so as to recommend both short-term and long-term policies to the Government. It is obvious that the established Committee for Revising Law does not possess that needed qualification to achieve the ostensible objectives. This is because the commission still performs under the supervision of the Law Councillors which is the executive’s instrument. In particular, any initiative on research and development is subject to Office of the Juridical Council. If the Government yet takes the policy of law reform seriously, there should be a revision on organization for law reform during the Seventh National Economic and Social Development Plan. As a matter of efficiency, it is inevitable to confer the neutral body a sufficient autonomy to produce policy recommendation on law reform. In addition, how the commission performs significantly depends on a strong backup from professional secretariat staffs.-
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectคณะกรรมการพัฒนากฎหมาย-
dc.subjectการพัฒนาสังคม-
dc.subjectการเปลี่ยนแปลงทางสังคม-
dc.subjectการพัฒนาประเทศ-
dc.subjectการปฏิรูปกฎหมาย-
dc.subjectกฎหมายกับการพัฒนาเศรษฐกิจ-
dc.titleรูปแบบขององค์กรและกระบวนการในการปฏิรูปกฎหมายเพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมen_US
dc.title.alternativePattern of organization and process of law reform for economic and social developmenten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Anan_ch_front.pdf4.43 MBAdobe PDFView/Open
Anan_ch_ch1.pdf3.31 MBAdobe PDFView/Open
Anan_ch_ch2.pdf21.06 MBAdobe PDFView/Open
Anan_ch_ch3.pdf12.05 MBAdobe PDFView/Open
Anan_ch_ch4.pdf11.21 MBAdobe PDFView/Open
Anan_ch_ch5.pdf6.71 MBAdobe PDFView/Open
Anan_ch_ch6.pdf26.97 MBAdobe PDFView/Open
Anan_ch_ch7.pdf4.82 MBAdobe PDFView/Open
Anan_ch_back.pdf36.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.