Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3449
Title: | Synthesis and properties of meta-terphenyl derivatives |
Other Titles: | การสังเคราะห์และสมบัติของอนุพันธ์สารประกอบเมตา เทอร์เฟนิล |
Authors: | Wararat Radchadawong |
Advisors: | Yongsak Sritana-Anant Woraean Bhanthumnavin |
Other author: | Chulalongkorn University. Faculty of Science |
Subjects: | Aromatic compounds--Synthesis |
Issue Date: | 2004 |
Publisher: | Chulalongkorn University |
Abstract: | The study of Hart reaction for the syntheses of m-terphenyl derivatives were performed in a one-pot fashion using excess phenyl Grignard reagent reacting either with 3,5-dibromo-4-iodotoluene or 1,3-dichlorobenzene. Working up the reaction mixtures by various electrophiles gave the corresponding m-terphenyl derivatives. The products were analyzed by proton ([superscript 1]H) and carbon ([superscript 13]C) nuclear magnetic resonance spectroscopy, gas chromatography and mass spectrometry. The m-terphenyl derivatives obtained were 59% of 3,5-diphenyltoluene, 73% of 3,5-diphenyl-4-iodotoluene starting from 3,5-dibromo-4-iodotoluene. When 1,3-dichlorobenzene was used as the substrate, 30% yield of m-terphenyl and 23% yield of 2,6-diphenyliodobenzene were obtained. Three factors affecting the yield of m-terphenyl prepared from 1,3-dichlorobenzene, monitored by Gas Chromatography (GC), were investigated. The most efficient condition was found with the addition of the 1,3-dichlorobenzene substrate into Grignard reagent at low temperature (-10 ํC), using high concentration of the substrate (0.29 M) and runing the reaction at reflux for 3 h |
Other Abstract: | การศึกษาปฏิกิริยาฮาร์ทเพื่อสังเคราะห์อนุพันธ์สารประกอบเมตา-เทอร์เฟนิล โดยใช้สารตั้งต้น 2 แบบ คือ 3,5-ไดโบรโม-4-ไอโอโดโทลูอีนและ 1,3-ไดคลอโรเบนซีน ทำปฏิกิริยากับกรินยาร์ดรีเอเจนต์ที่มากเกิดพอ และหยุดปฏิกิริยาด้วยอิเล็กโทรไฟล์หลายชนิด ทำให้ได้ผลิตภัณฑ์ที่เป็นอนุพันธ์ของสารประกอบเมตา-เทอร์เฟนิล โดยพิสูจน์โครงสร้างของผลิตภัณฑ์ที่สังเคราะห์ได้ด้วย เทคนิคโปรตอนและคาร์บอนนิวเคลียร์แมกนีติคเรโซแนนซ์ แก๊สโครมาโทกราฟีและแมสสเปกโทรเมตรี ซึ่งผลิตภัณฑ์ที่สามารถสังเคราะห์ ได้แก่ 3,5-ไดฟีนิลโทลูอีน (59%) และ 3,5-ไดฟีนิลไอโอโดโทลูอีน (73%) ซึ่งสังเคราะห์จาก 3,5-ไดโบรโม-4-ไอโอโดโทลูอีน ส่วนเมตา-เทอร์เฟนิล (30%) และ 2,6-ไดฟีนิลไอโอเบนซีน (23%) สังเคราะห์ได้จาก 1,3-ไดคลอโรเบนซีน นอกจากนั้นยังได้ศึกษาถึงปัจจัยอื่นๆ อีก 3 ประการ ที่ส่งผลต่อปริมาณของผลิตภัณฑ์ที่ได้จากการสังเคราะห์จาก 1,3-ไดคลอโรเบนซีน ซึ่งสามารถวิเคราะห์ติดตามผลของปฏิกิริยาได้ด้วยเทคนิคแก๊สโครมาโทกราฟี และพบว่าได้สภาวะที่ดีที่สุดในการทำปฏิกิริยาโดยการเติม 1,3-ไดคลอโรเบนซีน ลงในกรินยาร์ดรีเอเจนต์ที่อุณหภูมิต่ำ (-10 ํC) ใช้ความเข้มข้นของสารตั้งต้นที่สูง (0.29 โมลาร์) และระยะเวลาที่เหมาะสมในการดำเนินปฏิกิริยาที่รีฟลักซ์คือ 3 ชั่วโมง |
Description: | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2004 |
Degree Name: | Master of Science |
Degree Level: | Master's Degree |
Degree Discipline: | Chemistry |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3449 |
ISBN: | 9745316075 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Sci - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Wararat.pdf | 1.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.