Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36184
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอัฏฐมา นิลนพคุณ-
dc.contributor.authorอินทุอร รัตนบรรพต-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิทยาศาสตร์การกีฬา-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกาญจนบุรี-
dc.coverage.spatialสังขละบุรี-
dc.date.accessioned2013-10-16T01:59:40Z-
dc.date.available2013-10-16T01:59:40Z-
dc.date.issued2553-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36184-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2553en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาแนวทางในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรี กลุ่มตัวอย่างแบ่งออกเป็น 3 กลุ่มรวม 405 คน ได้แก่ ประชาชนที่อาศัยอยู่อำเภอสังขละบุรี 102 คน และนักท่องเที่ยวที่มาท่องเที่ยว 298 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบบังเอิญและใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูล นำผลที่ได้มาวิเคราะห์ทางสถิติ โดยการแจกแจงความถี่และหาค่าร้อยละ และเจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบทางการท่องเที่ยว 5 คน ใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง และใช้วิธีการสุ่มแบบเจาะจง และใช้แบบสัมภาษณ์ในการเก็บข้อมูล วิเคราะห์ข้อมูลโดยจัดกลุ่มเนื้อหาเป็นหมวดหมู่ ผลการวิจัยพบว่า ประชาชนในท้องถิ่นเป็นเพศหญงร้อยละ 52.9 และเพศชายร้อยละ 47.1 มีการศึกษาระดับต่ำกว่าปริญญาตรี ประกอบอาชีพค้าขายและรับจ้างทั่วไป ส่วนใหญ่้องการมีส่วนร่วมในกิจกรรมการท่องเที่ยว มีความ้อการให้กำหนดพื้นที่ทางการท่องเที่ยวอย่างเป็นสัดส่วน มีการจัดสรรผลประโยชน์อย่างยุติธรรมและภาครัฐควรให้ความช่วยเหลือด้านการระดมทุนเพื่อการท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวเป็นเพศหญิงร้อยละ 51 เพศชายร้อยละ 49 มีการศึกษาระดับปริญญาตรีประกอบอาชีพข้าราชการและพนักงานรัฐวิสาหกิจ ความเห็นในการจัดการท่องเที่ยว คือ ควรมีการปรับปรุงสภาพถนนทางเข้าก่อนถึงแหล่งท่องเที่ยว มีการจัดโปรแกรมการท่องเที่ยวสำเร็จรูป เช่น จัดเส้นทางศึกษาธรรมชาติ และควรจัดระบบรักษาความปลอดภัยแก่ชีวิตและทรัพย์สินของนักเท่องเที่ยว เจ้าหน้าที่ที่รับผิดชอบทางการท่องเที่ยวมีความคิดเห็นว่า ต้องให้ทุกภาคส่วนเข้ามามีส่วนร่วมในการจัดการท่องเที่ยว ควรปลูกฝังให้นักท่องเที่ยวมีจิตสำนึกในการรักษาสิ่งแวดล้อม รวมทั้งปรับปรุงดโครงสร้างพื้นฐานเพื่อรองรับนักท่องเที่ยว แนวทางในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอำเภอสังขละบุรีที่ได้จากการวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลจากผู้ให้ข้อมูลทั้ง 3 กลุ่ม คือ จัดทำแผนการจัดการท่องเที่ยวร่วมกันระหว่างหน่วงงานภาครัฐ และประชาชนในชุมชน เพิ่มมาตรการป้องกันและรักษาคุณภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่มากยิ่งขึ้น สนับสนุนให้มีการสร้างกลุ่มเครือข่ายมัคคุเทศก์ท้องถิ่นให้เป็นรูปธรรม พัฒนา ดูแลปรับปรุงสิ่งอำนวยความสะดวกเพิ่มตามความเหมาะสมของพื้นที่en_US
dc.description.abstractalternativeThis research aimed to study econourism management guideline in Sangklaburi District, Kanchanaburi Province. The 405 samples were divided into 3 groups. questionnaires were used to collect data from 102 residents in Sangklaburi District, and 298 tourists by accidental sampling. The data was analyzed sing frequency and percentage. The third group included interviewing 5 officers who were responsible in tourism management in the area. The data was grouped into categories and analyzed using content analysis. The results indicated that residents were 52.9% female and 47.1% male. Majority of the respondents were merhants and part time employees with bachelor degree backgroun. Most of the respondents would like to involve in tourism activities. They agreed that tourism destination should be zoning. Mutually contributon of benefits, and accessing to sources of funding to local communities were necessary. Tourists were 51% female and 49% male. Majority of respondents were government offiers and state enterprise employees. Majority of them had bachelor degree. Respondents agreed that road condition should be improved. They also concerned about tourism programs and safety at the destinations. The officers who were responsible in tourism agreed that cooperation within and between publics sectors responsible for tourim should be deveoped. Motivating stakeholders' awareness in preserving tourism environment; and improving of infrastructure were also necessary. therefore, the appropriate cotourism management guideline for Sangklaburi was dveloped from the information collected from three groups of stakeholders, coupled with Provincial Planning and Policies. It suggested that partnership or networking should be developed among stakeholders for sustainability.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2010.1099-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการท่องเที่ยว -- การจัดการen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงนิเวศen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- การจัดการen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- ไทย -- กาญจนบุรีen_US
dc.subjectการท่องเที่ยวเชิงนิเวศ -- ไทย -- สังขละบุรี (กาญจนบุรี)en_US
dc.subjectกาญจนบุรี -- การท่องเที่ยวen_US
dc.subjectEcotourism -- Thai -- Kanchanaburien_US
dc.subjectEcotourism -- Thai -- Sangklaburi (Kanchanaburi)en_US
dc.subjectTourism -- Management -- Thailand -- Kanchanaburien_US
dc.titleแนวทางการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศของอำเภอสังขละบุรี จังหวัดกาญจนบุรีen_US
dc.title.alternativeEcotourism management guideline in Sangklaburi district, Kanchanaburi provinceen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิทยาศาสตร์การกีฬาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisoranilnoppakun@gmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2010.1099-
Appears in Collections:Spt - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
intuorn_ra.pdf7.58 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.