Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36535
Title: | วชิรญาณ กับการแสวงหาความรู้ของชนชั้นนำของสยาม พ.ศ. 2427-2448 |
Other Titles: | Vajirayanna and the pursuit of knowledge of siamese elites, 1884-1905 |
Authors: | ธนพงศ์ จิตต์สง่า |
Advisors: | สุวิมล รุ่งเจริญ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์ |
Advisor's Email: | Suvimol.R@Chula.ac.th |
Subjects: | หอพระสมุดวชิรญาณ วชิรญาณ วชิรญาณวิเศษ ชนชั้นนำ -- ไทย การศึกษาด้วยตนเอง วัฒนธรรมตะวันตก Vajirayanna library (Thailand) Self-culture Elite (Social sciences) -- Thailand |
Issue Date: | 2552 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ศึกษากิจกรรมที่เกิดขึ้นในหอสมุดพระวชิรญาณระหว่าง พ.ศ. 2424-2448 ทั้งกิจกรรมต่างๆ ที่ชนชั้นนำจัดขึ้นในหอสมุด และการจัดพิมพ์หนังสือวชิรญาณกับวชิรญาณวิเศษ หอสมุดพระวชิรญาณมีฐานะเป็นสโมสรของชนชั้นนำ กิจกรรมที่เกิดขึ้นในหอสมุดแสดงถึงการรับวัฒนธรรมจากตะวันตกของชนชั้นนำ ทั้งการพักผ่อนหย่อนใจ นันทนาการ การสะสมและรวบรวมเอกสาร หนังสือ ตำราตัวเขียนต่างๆ ส่วนการแสวงหาความรู้ของชนชั้นนำที่ได้รับอิทธิพลตะวันตก มีทั้งการศึกษาแบบตะวันตก การอ่านหนังสือด้วยตนเอง และการท่องเที่ยว ผลของการแสวงหาความรู้ของชนชั้นนำปรากฎในหนังสือวชิรญาณและหนังสือวชิรญาณวิเศษ ความรู้เหล่านี้ประกอบไปด้วยความรู้พระราชพิธี ความรู้ที่มาจากท้องถิ่น และความสนใจในความรู้เกี่ยวกับวัฒนธรรมตะวันตก ความรู้ทั้งสามประการนี้ เป็นความรู้ที่สำคัญในการสถาปนารัฐสมบูรณาญาสิทธิ์ของสยาม อีกทั้งยังแสดงให้เห็นถึงการยอมรับความศิวิไลซ์และความทันสมัยแบบตะวันตก ของชนชั้นนำท่ามกลางยุคอาณานิคมเมื่อต้นพุทธศตวรรษที่ 25 |
Other Abstract: | To study the activities of the Vajirayanna library from 1884-1905, including all the activities initiated by members of the library's leadership and those related to the publishing of the library's two magazines, Vajirayanna and Vajirayanna Wiset. The Vajirayanna library was the club of the Siamese elite and its activities reflected the adoption of many aspects of Western culture by the elite including concepts of recreation, leisure time, and the collecting of printed books, manuscripts, and documents. Moreover, Western ideas influenced the elite's mode of pursuing knowledge in the areas eduction, independent reading of various books, and travel. The results of their search for knowledge appeared in articles published in Vajirayanna and Vajirayanna Wiset. The categories of these publications can be broken down into three broad categories of knowledge; royal ritual, local knowledge and Western knowledge. These three categories of knowledge were important to the establishment of the absolutist state and demonstrated the ways in which the elite accepted Western civilization and modernity during the colonial era. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2552 |
Degree Name: | อักษรศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | ประวัติศาสตร์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36535 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2009.1263 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2009.1263 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Arts - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
tanapong_ch.pdf | 2.45 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.