Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36672
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Taveesin Tanprayoon | |
dc.contributor.advisor | Piya Teawprasert | |
dc.contributor.author | Thawee Songpatanasilp | |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Medicine | |
dc.date.accessioned | 2013-11-15T11:14:18Z | |
dc.date.available | 2013-11-15T11:14:18Z | |
dc.date.issued | 2004 | |
dc.identifier.isbn | 9741769555 | |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36672 | |
dc.description | Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2004 | en_US |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์: เพื่อประเมินผลการใช้ยา alfacalcidol ในการเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ในผู้หญิงสูงอายุไทยที่มีอายุเท่ากับหรือมากกว่า 65 ปี ซึ่งมีภาวะวิตามินดีในเลือดต่ำ โดยวัดการเพิ่มขึ้นของความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ quadriceps เทียบกับผู้ไม่ได้รับยา รูปแบบการทดลอง: การศึกษาแบบสุ่มเปรียบเทียบผลการรักษาที่มีการปกปิดอาสาสมัครและผู้ประเมิน วิธีการศึกษา: ผู้หญิงอายุที่มีอายุเท่ากับหรือมากกว่า 65 ปี จำนวน 72 รายได้เข้าร่วมการศึกษานี้ ทั้งหมดนี้จะได้รับการเจาะเลือดเพื่อตรวจหาระดับ 25(OH)D3 ฮอร์โมนพาราไธรอยและชนิดตัวจับวิตามินดี และตรวจวัดความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ ผู้หญิงสูงอายุที่ตรวจพบระดับ 25(OH)D3 น้อยกว่าหรือเท่ากับ 30 ng/ml มี 46 ราย, 42 รายตำลงใจเข้าสู่การศึกษาแบบสุ่มเปรียบเทียบผลการรักษา หลังจาก 12 สัปดาห์ จำนวนผู้หญิงสูงอายุเหลือ 40 ราย (ออกจากการศึกษา 2 ราย) ที่จะเข้ารับการตรวจวัดความแข็งแรงของกลางเนื้อครั้งที่สอง การศึกษาจะเปรียบเทียบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อที่ 12 สัปดาห์เทียบกับยาหลอก ผลการศึกษา จากการวิเคราะห์ด้วย ANCOVA พบว่ามีการเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญของความแข็งแรงของกล้ามเนื้อภายหลังได้รับยาอัลฟาแคลซิดอลเมื่อเทียบกับยาหลอก ทั้งความแข็งแรงกล้ามเนื้อที่ 30 องศา/วินาที (20.28 เทียบกับ 16.29, p=0.0.25) และ 60 องศา/วินาที (20.32 เทียบกับ 15.05, p = 0.002) เปอร์เซ็นต์ของภาวะวิตามินดีในเลือดต่ำของการศึกษานี้เท่ากับ 64% ไม่พบความสัมพันธ์ที่มีนัยสำคัญทางสถิติทางสถิติระหว่าง ระดับ 25(OH)D3 และ ฮอร์โมนพาราไธรอย กับความแข็งแรงของกล้ามเนื้อ สรุป: การใช้ยา อัลฟาแคลซิดอล สามารถเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อในผู้หญิงไทยที่มีอายุเท่ากับหรือมากกว่า 65 ปี ซึ่งมีภาวะวิตามินดีในเลือดต่ำได้ | |
dc.description.abstractalternative | Objective: To evaluate the efficacy of alfacalcidol on the improvement of muscle strength in ambulatory elderly Thai women in age group of 65 or more who have hypovitaminosis D. Design: Randomized controlled trial Method: 72 postmenopausal women age 65 years or more were enrolled to this study. Blood was collected from all participants for measured of 25(OH)D3, intact PTH and vitamin D receptor (VDR) genotypes. After blood testing. All participants were sending to measure the quadriceps muscle strength using the isokinetic dynamometer deveice. There were 46 elderly subjects who have serum 25(OH)D3 ≤ 30 ng/ml, and 42 of them had willing to participate the experimental randomized controlled study. After 12 weeks of intervention only 40 subjects left to received the second muscle strength measurement. (2 dropped out) Comparison of muscle strength at 12 weeks of both alfacalcidol and placebo group are the primary outcome of interest. Results: By ANCOVA analysis. There were significant improvement of muscle strength in the group that received alfacalcidol compared to placebo in both 30°/sec (20.28 vs.16.29, p=0.025) and 60°/sec (20.32 vs. 15.05, p=0.002) angular velocity. Percent of hypovitaminosis D in this study is 64% There are no significant correlation between 25(OH)D3, intact PTH and muscle strength. Conclusion: Daily dose of 0.5mg alfacalcidol is effectively to improved muscle strength in elderly Thai women who have previous low level of 25(OH)D3 | |
dc.language.iso | en | en_US |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en_US |
dc.rights | Chulalongkorn University | en_US |
dc.title | Effect of alfacalcidol on muscle strenght in ambulatory elderly Thai women who have hypovitaminosis D : a randomized controlled trial | en_US |
dc.title.alternative | ผลของยาอัลฟาแคลซิดอลต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อในผู้หญิงสูงอายุไทยที่มีภาวะวิตามินดีในเลือดต่ำ | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | Master of Science | en_US |
dc.degree.level | Master's Degree | en_US |
dc.degree.discipline | Health Development | en_US |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en_US |
Appears in Collections: | Med - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Thawee_so_front.pdf | 2.41 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thawee_so_ch1.pdf | 1.13 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thawee_so_ch2.pdf | 1.7 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thawee_so_ch3.pdf | 3.34 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thawee_so_ch4.pdf | 2.8 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thawee_so_ch5.pdf | 1.63 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Thawee_so_ch6.pdf | 772.72 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Thawee_so_back.pdf | 3.39 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.