Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36711
Title: Risk assessment of heavy metal assosiated with dermal exposure in incense workers in small household factories at Roi-Et province, Thailand
Other Titles: การประเมินความเสี่ยงจากการสัมผัสโลหะหนักผ่านทางผิวหนังของคนงานผลิตธูปในครัวเรือน หมู่บ้านงูเหลือม จังหวัดร้อยเอ็ด ประเทศไทย
Authors: Pornrat Kaewrueng
Advisors: Wattasit Siriwong
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: Wattasit.S@Chula.ac.th
Subjects: Heavy metals -- Risk assessment
Skin -- Diseases
โลหะหนัก -- การประเมินความเสี่ยง
ผิวหนัง -- โรค
Issue Date: 2012
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: The Ngooleum village in Roi-et province is one of the largest producers of incense stick in the northeastern region of Thailand. An exposure of heavy metal through dermal contact is concerned because packaging is the main production process that involves of several heavy metals contact. Thirty-five small household factories were selected randomly to collect heavy metal residues on one packaging worker’s hands of each factory. The average residue concentrations (±SD) of Ba, Cd, Cr, Mn, Ni, and Pb on worker’s hands were 11.03±2.31 mg/kg, 1.13±0.23 mg/kg, 2.77±0.83 mg/kg, 7.06±1.92 mg/kg, 8.20±2.22 mg/kg, and 3.55±1.32 mg/kg, respectively. The dermal absorbed dose (DAD) of female workers (n=30) of Ba, Cd, Cr, Mn, Ni, and Pb were 1.48×10[superscript-7] mg/kg-day, 1.54×10[superscript-9] mg/kg-day, 3.68×10-8 mg/kg-day, 9.55×10-8 mg/kg-day, 1.12×10[superscript -7] mg/kg-day, and 4.76×10[superscript-8] mg/kg-day, respectively. The risk in term of hazard quotient (HQ) of Ba, Cd, Cr, Mn, Ni, and Pb were 3.02×10[superscript-5], 1.28×10[superscript-4], 2.45×10[superscript-3], 1.59×10[superscript-4], 5.60×10[superscript-4], and 1.13×10[superscript-4], respectively and hazard index (HI) for six heavy metals was 3.44×10[superscript-3]. Another dermal absorbed dose (DAD) from male workers (n=5) of Ba, Cd, Cr, Mn, Ni, and Pb on worker’s hands were 1.80×10[superscript-7] mg/kg-day, 1.72×10[superscript-9] mg/kg-day, 4.79×10-8 mg/kg-day, 1.11×10[superscript-7] mg/kg-day, 1.23×10[superscript-7] mg/kg-day, and 5.83×10[superscript-8] mg/kg-day, respectively. The hazard quotient (HQ) of Ba, Cd, Cr, Mn, Ni, and Pb were 3.67×10[superscript-5], 1.43×10[superscript-4], 3.19×10[superscript-3] , 1.85×10[superscript-4], 6.14×10[superscript-4], and 1.39×10[superscript-4], respectively and the hazard index (HI) was 4.31×10[superscript-3]. In conclusion, Both the HQ values for single heavy metal and HI value for six heavy metals were greatly below one indicated incense workers may not be greatly risk from these heavy metals via dermal route.
Other Abstract: หมู่บ้านงูเหลือมในจังหวัดร้อยเอ็ดเป็นหนึ่งในหมู่บ้านในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยที่มีการผลิตธูปจำนวนมากการรับสัมผัสสารโลหะหนักผ่านทางผิวหนังเป็นสิ่งที่น่าสนใจเพราะขั้นตอนการบรรจุธูปเป็นกระบวนการหลักที่เกี่ยวข้องกับการรับสัมผัสโลหะหนักหลายชนิด โดยเหตุผลหลักที่ต้องให้ความสำคัญเพราะการใช้สีคนงานผลิตธูปมีคุณภาพต่ำ การสุ่มตัวอย่าง 35 ครัวเรือนจากหมู่บ้านงูเหลือมนั้น จะต้องสุ่มคนงานบรรจุหีบห่อธูปครัวเรือนละ 1 คนเพื่อเก็บจำนวนโลหะหนักที่เหลืออยู่บนมือ จากผลการทดลองพบว่าสารโลหะหนักทั้ง คือแบเรียม แคดเมียม โครเมียม นิกเกิล แมงกานีส และ ตะกั่ว ถูกพบบนมือของคนงานผลิตธูป โดยมีร้อยละของ recovery ของโลหะหนักทั้ง 6 ชนิดในแผ่นผ้ากลอส อยู่ในช่วง 89.4 ถึง 102.6 % ความเข้มข้นเฉลี่ย (±SD) ของ แบเรียม แคดเมียม โครเมียม นิกเกิล แมงกานีส และ ตะกั่ว ที่มือของคนงาน 11.03±2.31 มก./กก. 1.13±0.23 มก./กก. 2.77±0.83 มก./กก.7.06±1.92 มก./กก. 8.20±2.22 มก./กก. และ 3.55±1.32 มก./กก.ตามลำดับ ค่าการรับสัมผัสทางผิวหนัง ของคนงานผู้หญิง คือ 1.48×10[superscript-7] มก./กก.-วัน 1.54×10[[superscript-9] มก./กก.-วัน 3.68×10[superscript-8] มก./กก.-วัน 9.55×10[superscript-8] มก./กก.-วัน 1.12×10[superscript-7] มก./กก.-วัน และ 4.76×10[superscript-8] มก./กก.-วัน ค่า hazard quotient (HQ) ของ แบเรียม แคดเมียม โครเมียม นิกเกิล แมงกานีส และ ตะกั่ว คือ 3.02×10[superscript-5] 1.28×10[superscript-4] 2.45×10[superscript-3] 1.59×10[superscript-4] 5.60×10[superscript-4] และ 1.13×10[superscript-4] ตามลำดับ และค่า hazard index (HI) ของทั้ง 6 โลหะหนักคือ 3.44×10[superscript-3] ค่าการรับสัมผัสทางผิวหนัง บนมือคนงานผลิตธูปชาย (n=5) ของ แบเรียม แคดเมียม โครเมียม นิกเกิล แมงกานีส และ ตะกั่ว 1.80×10[superscript-7] mg/kg-day 1.72×10[superscript-9] mg/kg-day 4.79×10[superscript-8] mg/kg-day 1.11×10[superscript-7] mg/kg-day 1.23×10[superscript-7] mg/kg-day และ 5.83×10[superscript-8] mg/kg-day ตามลำดับ ค่า quotient (HQ) ของ แบเรียม แคดเมียม โครเมียม นิกเกิล แมงกานีส และ ตะกั่ว 3.67×10[superscript-5] 1.43×10[superscript-4] 3.19×10-3 1.85×10[superscript-4] 6.14×10[superscript-4] และ 1.39×10[superscript-4] ตามลำดับ และค่า hazard index (HI) คือ 4.31×10[superscript-3] ดังนั้นทั้งค่า HQ สำหรับแต่ละสารโลหะหนัก และค่า HI ของทุกสารโลหะหนักมีค่าไม่เกิน 1 แสดงว่าในการศึกษานี้ไม่พบความเสี่ยงจากสารที่ไม่ก่อให้เกิดมะเร็งผ่านจากการสัมผัสทางผิวหนัง
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2012
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Environmental Management (Inter-Department)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/36711
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2012.891
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2012.891
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
pornrat_ka.pdf3.19 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.