Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37595
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสมพงษ์ ศิริโสภณศิลป์-
dc.contributor.authorสกุลศักดิ์ ญาติฝูง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2013-12-25T09:16:58Z-
dc.date.available2013-12-25T09:16:58Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/37595-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.) --จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัญหาในการขนส่งวัสดุเข้าสู่พื้นที่ก่อสร้างที่มีในปัจจุบัน พร้อมประเมินผลกระทบและเสนอแนวทางปรับปรุงแก้ไขเพื่อลดผลกระทบที่เกิดขึ้นกับโครงการก่อสร้าง ซึ่งมีกรณีศึกษาในการขนส่งวัสดุเข้าสู่โครงการก่อสร้างที่มีลักษณะอาคารสูงในเขตกรุงเทพมหานครชั้นใน 2 โครงการ โดยใช้วิธีวิเคราะห์กิจกรรมในกระบวนการขนส่งตั้งแต่เริ่มการสั่งวัสดุ จนวัสดุถูกขนส่งมาถึงและขนถ่ายลงในพื้นที่ก่อสร้างในวัสดุ 5 ชนิดซึ่งประกอบด้วย เหล็กเส้น คอนกรีตผสมเสร็จ ปูนซีเมนต์ อิฐมวลเบา และอิฐมอญ ผลจากการศึกษาพบว่าปัญหาที่เกิดจากการขนส่งวัสดุเกิดผลกระทบในด้านต้นทุนที่มองไม่เห็นต่อโครงการก่อสร้าง ซึ่งเกิดจากสาเหตุจากปัจจัยคนและบุคลากรกับปัจจัยวิธีการทำงานเป็นสองปัจจัยหลัก โดยมีสาเหตุรากเหง้ามาจากกระบวนการจัดซื้อจัดหา ดังนั้นการศึกษาจึงได้นำเสนอวิธีการปรับปรุงกระบวนการออกคำสั่งซื้อด้วยการประยุกต์ใช้ระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ ระบบการบริหารความต้องการวัสดุมาใช้เข้ามาใช้ในการวางแผนการสั่งวัสดุ และระบบการคัดเลือกร้านค้าผู้จัดส่งวัสดุen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this thesis is to investigate problems in transporting materials to construction sites, assess the impacts, and propose improvements to reduce the undesired effects. Two high-rise building construction sites in inner Bangkok are selected as study cases. The investigation covers delivering process consisting of ordering, transporting, and unloading at construction areas. Five types of materials considered in this study includes steel bars, ready-mixed concrete, cement, light weight cellular concrete blocks, and bricks. The study finds that problems with material transportation are basically personnel-related and procedure-related, resulting in notable hidden costs. The root cause of these problems lies in the sourcing process. This study thereby proposes an improved sourcing process with the application of database system, materials requirement planning, and supplier selection system.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1161-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectวัสดุและอุปกรณ์ก่อสร้าง -- การขนส่งen_US
dc.subjectการบริหารงานโลจิสติกส์en_US
dc.subjectการควบคุมความสูญเปล่าen_US
dc.subjectBuilding materials -- Transportationen_US
dc.subjectBusiness logisticsen_US
dc.subjectLoss controlen_US
dc.titleการวิเคราะห์ความสูญเปล่าในการขนส่งวัสดุเข้าสู่พื้นที่ก่อสร้างen_US
dc.title.alternativeWaste analysis of transporting materials to construction sitesen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมโยธาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSompong.Si@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1161-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
sakulsak_ya.pdf5.94 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.