Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3860
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ วิรัชชัย-
dc.contributor.authorแคทลียา ทาวะรมย์, 2519--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-08-24T09:20:25Z-
dc.date.available2007-08-24T09:20:25Z-
dc.date.issued2543-
dc.identifier.isbn9743466827-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/3860-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2543en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อประยุกต์ใช้การวิเคราะห์การอยู่รอดในการศึกษาฟังก์ชันการอยู่รอดมัธยฐาน ระยะเวลาการอยู่รอด อัตราความเสี่ยงอันตรายต่อการออกกลางคันสูงสุด และเพื่อศึกษาฟังก์ชันการอยู่รอดและโมเดลฟังก์ชันความเสี่ยงอันตรายของนิสิตที่มีคุณลักษณะแตกต่างกันตามตัวแปรทำนาย ได้แก่ เพศ อายุ ประเภทการเรียน เกรดเฉลี่ยสะสมระดับมัธยมปลาย จังหวัด และภาควิชา ประชากรคือ นิสิตระดับปริญญาบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวนสามรุ่นที่เข้าศึกษาในปี 2532, 2533 และ 2534 จำนวน 1,976 คน ข้อมูลสำหรับการวิจัยได้จากสำนักทะเบียนและประมวลผล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้วิธีการวิเคราะห์การอยู่รอดด้วยโปรแกรม SPSS for Window version 7.52 ผลการวิจัยสรุปได้ว่า นิสิตรุ่นปีการศึกษา 2532 มีอัตราความเสี่ยงอันตรายสูงสุดเป็น .0350, .0267 และ .0221 และนิสิตอยู่รอดได้เท่ากับ 96.06%, 88.70% และ 91.78% ในช่วงเวลา 1, 6 และ 4 ตามลำดับ รุ่นปีการศึกษา 2533 มีอัตราความเสี่ยงอันตรายสูงสุดเป็น .0553 และ .0338 และนิสิตอยู่รอดได้เท่ากับ 90.04% และ 95.16% ในช่วงเวลา 3 และ 2 ตามลำดับ รุ่นปีการศึกษา 2534 มีอัตราความเสี่ยงอันตรายสูงสุดเป็น .0401 และ .0327 และนิสิตอยู่รอดได้เท่ากับ 92.16% และ 95.94% ในช่วงเวลา 2 และ 1 ตามลำดับ นิสิตทั้งสามรุ่นมีมัธยฐานระยะเวลาการอยู่รอดมากกว่าช่วงเวลาที่ 14 ตัวทำนายที่มีอิทธิพลต่อระยะเวลาการอยู่รอดอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ได้แก่ อายุ เกรดเฉลี่ยสะสมระดับมัธยมปลาย จังหวัดและภาควิชา ในกลุ่มนิสิตรุ่นปีการศึกษา 2532 อายุ จังหวัด และภาควิชา ในกลุ่มนิสิตรุ่นปีการศึกษา 2533 อายุ และภาควิชา ในกลุ่มนิสิตรุ่นปีการศึกษา 2534 ตัวทำนายที่มีอิทธิพลต่อความเสี่ยงอันตรายของนิสิตทั้งสามรุ่นปีการศึกษาแตกต่างกัน กล่าวคือ อายุ เกรดเฉลี่ยสะสมระดับมัธยมปลาย จังหวัด และภาควิชา ในกลุ่มนิสิตรุ่นปีการศึกษา 2532 อายุ และภาควิชา ในกลุ่มนิสิตรุ่นปีการศึกษา 2533 และภาควิชา ในกลุ่มนิสิตรุ่นปีการศึกษา 2534en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this research were to apply survival analysis in studying survival function, median survival time, hazard rate of maximum dropping out and to study student's survival function and hazard model using gender, age, type of study, GPAX province and major as predictor. The population consisted of 1,976 undergraduate students in the academic years 2532, 2533 and 2534, Faculty of Engineering, Chulalongkorn University. Data for this study were obtained from the Office of the Register and were analyzed through Survival Analysis Prodedure using SPSS for Window version 7.52. The research results indicated that in the academic year 2532 group, the highest hazard rates of .0350, .0267, .0221 and the survival times of 96.06% 88.70%, 91.78% occured in the first, sixth and fourth intervals respectively. For the academic year 2533 group, the highest hazard rates of .0553, .0338 and the survival times of 990.04%, 95.16% occured in the third and second intervals respectively. For the academic year 2534 group,the highest hazard rates of .0401, .0327 and the survival times of 92.16%, 95.94% occured in the second and first intervals respectively. The median survival times of the the three groups of students were more than fourteenth interval. The predictors that yielded significantly different survival time were age, GPAX, province and major for the academic year 2532 group; age, province and major for th eacademic year 2533 group; age and major for the academic year 2534 group. The predictors, affecting hazard of these three groups of students were age, GPAX, province and major for the academic year 2532 group; age and major for the academic year 2533 group; and major for the academic year 2534 groupen
dc.format.extent1821598 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2000.463-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectการออกกลางคันen
dc.subjectจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en
dc.titleการประยุกต์ใช้การวิเคราะห์การอยู่รอดในการศึกษาการออกกลางคันของนิสิตระดับปริญญาบัณฑิต คณะวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeAn application of the survival analysis to the study of dropping out of undergraduate students in the Faculty of Engineering, Chulalongkorn Universityen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineสถิติการศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNonglak.W@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2000.463-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Kattaleeya.pdf1.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.