Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38973
Title: | การแก้ไขปัญหาการผสมซ้ำในโคนม โดยวิธีการชะล้างมดลูกด้วยสารน้ำเกลือผสมยาปฏิชีวนะ |
Other Titles: | Uterine flushing in repeat breeder dairy cows using normal saline and antibiotic solution |
Authors: | สันติ ประสิทธิ์ผล |
Advisors: | ปราจีน วีรกุล |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. บัณฑิตวิทยาลัย |
Advisor's Email: | prachin.v@chula.ac.th |
Subjects: | โคนม การผสมเทียม Dairy cattle Artificial insemination |
Issue Date: | 2539 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | ปัญหาการผสมซ้ำในโคนม ทำให้แม่โคนมมีระยะท้องว่างพลังคลอดนานและมีประสิทธิภาพการผลิตต่ำลง การวิจัยครั้งนี้ทำการศึกษาวิธีการแก้ไขโคนมที่มีปัญหาผสมซ้ำ จำนวน 78 ตัว ในจังหวัดสุพรรณบุรี ระหว่างเดือนตุลาคม 2537-เดือนเมษายน 2540 โดยแบ่งโคที่ศึกษาเป็น 2 กลุ่ม โดยวิธีจับฉลากได้โคกลุ่มรักษาและกลุ่มควบคุม จำนวนเท่า ๆ กันกลุ่มละ 39 ตัว เฉพาะโคกลุ่มรักษาทำการชะล้างมดลูกด้วยน้ำเกลือ ปริมาตร 1 ลิตร ผสมยาปฏิชีวนะออกซี่เดตร้าชัยคลินปริมาณ 1 กรัม โคทั้งสองกลุ่มได้รับการเหนี่ยวนำให้เป็นลัคด้วยโปรสด้าแกลนดิน เอฟ ทู อัล ฟ่า แล้วทำการผสมเทียม 1-3 รอบการเป็นลัคและทำการตรวจท้องแม่โคนมที่ไม่แสดงการกลับลัคหลังการผสมเทียม 60 วัน โดยวิธีล้วงคล่ำผ่านทางช่องทวารหนัก ผลการทดลองพบว่า โคกลุ่มรักษาตั้งท้องมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (P<0.05) (56.4 % เปรียบเทียบกับ 30.8%) โคที่มีปัญหาผสมซ้ำและได้รับการเก็บตัวอย่างจากมดลูกด้วย Uterine swab พบเชื้อแบคทีเรียที่ไม่ก่อให้เกิดโรค จำนวน 56 เสดรน แยกเป็นแบคทีเรียชนิดแกรมบวก71.4% และชนิดแกรมลบ 28.6% เชื้อแบคทีเรียที่พบไม่มีความสัมพันธ์ต่ออัตราการผสมติดในโคทั้งสองกลุ่มสรุปผลการทดลองว่าวิธีการชะล้างมดลูกด้วยน้ำเกลือผสมยาปฏิชีวนะสามารถปฏิบัติในท้องที่สะดวก และแก้ไขปัญหาผสมซ้ำในโคนมของเกษตรรายย่อยได้อย่างมีประสิทธิภาพ |
Other Abstract: | Repeat breeding problems in dairy cattle affects reproductive efficiency by increasing the number of open days after calving. This study was conducted in Suphanburi province during the period October 1994-April 1997. A total of 78 repeat breeding cows were devided equally into treatment and control groups. The treatment group was flushed intrauterinary, by using I liter of normal saline containing I gm of oxytetracycline. Oestrus was induced in both groups by injecting with prostaglandin F2 alpha and insemination took place at standing heat up over the next 3 oestrous cycles. Pregnancy was determined by rectal palpation 60 days after service. The pregnancy rate in treated cows was significantly higher (P<0.05) than the control group. (56.4% VS 30.8%) Uterine culture was performed in both groups before the treatment. There were 56 non-pathogenic bacterial strains, (gram+ive 71.4%, gram-ive 28.6%). There was no relationship between the bacterial isolates and successful pregnancy. In conclusion, uterine flushing using normal saline and an antibiotic, is practical to use in correcting repeat breeding problems in field conditions. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2539 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | วิทยาการสืบพันธุ์สัตว์ |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/38973 |
ISBN: | 9746352466 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Grad - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Santi_Pr_front.pdf | 757.01 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Santi_Pr_ch1.pdf | 692.42 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Santi_Pr_ch2.pdf | 858.65 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Santi_Pr_ch3.pdf | 945.38 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Santi_Pr_ch4.pdf | 793.58 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Santi_Pr_ch5.pdf | 736.55 kB | Adobe PDF | View/Open | |
Santi_Pr_back.pdf | 859.84 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.