Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/404
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorนงลักษณ์ วิรัชชัย-
dc.contributor.authorณัฐพร พวงไธสง, 2519--
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2006-06-21T02:24:02Z-
dc.date.available2006-06-21T02:24:02Z-
dc.date.issued2546-
dc.identifier.isbn9741757956-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/404-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2546en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนาและตรวจสอบความตรงของโมเดลเชิงสาเหตุของความมุ่งมั่นในการทำวิจัย พฤติกรรมการทำวิจัย และคุณภาพงานวิจัย 2) เพื่อเปรียบเทียบโมเดลแข่งขันระหว่างโมเดล 2 แบบ 3) ศึกษาอิทธิพลทางตรงและทางอ้อมของเจตคติต่อการวิจัย การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง ปัจจัยทางสังคม การรับรู้ควบคุมพฤติกรรม และความรู้สึกต่อการทำวิจัย ที่ส่งผลความมุ่งมั่นในการทำวิจัยพฤติกรรมการทำวิจัย และคุณภาพงานวิจัย และ 4) เพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างค่าเฉลี่ยของความมุ่งมั่นในการทำวิจัย พฤติกรรมการทำวิจัย และคุณภาพงานวิจัย ระหว่างกลุ่มครูที่มีภูมิหลัง ความต้องการเกี่ยวกับการทำวิจัย การสนับสนุนเกี่ยวกับการทำวิจัย และสมรรถภาพการวิจัยที่แตกต่างกัน กลุ่มตัวอย่างคือ ครูระดับประถมศึกษา สังกัดกรุงเทพมหานคร จำนวน 400 คน เครื่องมือวิจัยได้แก่ แบบสอบถาม และแบบประเมินคุณภาพงานวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน วิเคราะห์ความตรงของโมเดล การวิเคราะห์ข้อมูลใช้โปรแกรมลิสเรล วิเคราะห์ความตรงของโมเดลเชิงสาเหตุ และวิเคราะห์ความแตกต่างของค่าเฉลี่ย โดยใช้การวิเคราะห์ความแปรปรวนทางเดียว ผลการวิจัยสรุปได้ดังนี้ โมเดลเชิงสาเหตุของความมุ่งมั่นในการทำวิจัย พฤติกรรมการทำวิจัย และคุณภาพงานวิจัยมีความสอดคล้องกลมกลืนกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่า X[superscript 2] = 153.68, p = .061, GFI = .965, AGFI = .936 โมเดลสามารถอธิบายความแปรปรวนของตัวแปรความมุ่งมั่นในการทำวิจัย พฤติกรรมการทำวิจัย และคุณภาพงานวิจัย ได้ร้อยละ 99.9ม 99.5 และ 99.7 ตามลำดับ โมเดลเชิงสาเหตุที่มีพฤติกรรมการทำวิจัย เป็นตัวแปรส่งผ่านดีกว่าโมเดลที่เป็นโมเดลเชิงสาเหตุแบบโมเดลปิด ตัวแปรที่มีอิทธิพลทางตรงต่อความมุ่งมั่นในการทำวิจัยและมีอิทธิพลทางอ้อมต่อพฤติกรรมการทำวิจัย และคุณภาพงานวิจัย สูงที่สุด คือ การคล้องตามกลุ่มอ้างอิง รองลงมา คือ ปัจจัยทางสังคม ความรู้สึกต่อการทำวิจัย การรับรู้ควบคุมพฤติกรรม และเจตคติต่อการทำวิจัยตามลำดับ ครูที่มีการสนับสนุนเกี่ยวกับการทำวิจัยมาก มีความต้องการเกี่ยวกับการทำวิจัยสูง และสมรรถภาพการวิจัยสูง มีค่าเฉลี่ยความมุ่งมั่นในการทำวิจัย และพฤติกรรมการทำวิจัยสูงกว่ากลุ่มอื่น อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และครูที่มีสมรรถภาพการวิจัยสูง มีค่าเฉลี่ยคุณภาพงานวิจัย สูงกว่ากลุ่มครูที่มีสมรรถภาพการวิจัยต่ำ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01en
dc.description.abstractalternativeThe purposes of the research were 1) to develop and validata the causal model of intention to conduct research, research behavior and research quality, 2) to compare the two competitive models, 3) to study direct effects and indirect effect of attitude towards research, subjective norm, social factor, perceived behavior control and feeling to conduct research on the intention to conduct research, research behavior and research quality, and 4) to compare the mean differences of intention to conduct research, research behavior and research quality among groups of teachers having different backgrounds, needs to conduct research, research support and research competences. The sample consisted of 400 elementary school teachers, Bangkok Metropolitan Area. The research instruments were questionnaire and evaluation form pertaining to classroom action research. Data analysis employed LISREL to validate of the causal model and employed analysis of variance to analysis the difference among means. The research results were summarized as follows: The developed causal model of intention to conduct research, research behavior and research quality fit to the empirical data with chi-square goodness of fit test of 153.68; df = 128; p = .061; GFI = 0965; AGFI = 0.936. This model could explain the variance in the intention to conduct research, research behavior, and research quality about 99.9, 99.5, and 9.7 percent respectively. The model having research behavior as mediator variable was better than the model being the causal closure model. The variables having highest direct effects on intention to conduct research, having highest indirect effects on research behavior and research quality was subjective norm, next was social factor, feeling to conduct research, perceived behavior control, and attitude towards research, respectively. The teachers who had high research support, more needs to conduct research and high research competences, had higher means of intention to conduct research, research behavior than other teachers, significantly at .01 level. The teachers having high research competence had higher mean of research quality than low research competences teachers, significantly at .01 level.en
dc.format.extent2578689 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2003.454-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectวิจัยen
dc.subjectครูประถมศึกษาen
dc.subjectลิสเรลโมเดลen
dc.titleการพัฒนาโมเดลเชิงสาเหตุของความมุ่งมั่นในการทำวิจัย พฤติกรรมการทำวิจัย และคุณภาพงานวิจัยของครูระดับประถมศึกษา ในโรงเรียนสังกัดกรุงเทพมหานครen
dc.title.alternativeA developoment of the causal model of the intention to conduct research, research behavior and research quality of elementary teachers, Bangkok Metropolitan Areaen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิจัยการศึกษาen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorNonglak.W@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2003.454-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Nattaporn.pdf2.49 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.