Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4055
Title: Continuity and change in Hmong cultural identity : a case study of Hmong refugees from Laos in Wat Thamkrabok, Saraburi, Thailand
Other Titles: ความต่อเนื่องและความเปลี่ยนแปลงของอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมของชาวม้ง กรณีศึกษาผู้ลี้ภัยม้งจากประเทศลาวที่วัดถ้ำกระบอก สระบุรี ประเทศไทย
Authors: Bleser, Heidi Jo, 1977-
Advisors: Supang Chantavanich
Other author: Chulalongkorn University. Graduate School
Advisor's Email: Supang.c@chula.ac.th
Subjects: Hmong (Asian people)--Social life and customs
Hmong (Asian people)--Thailand
Issue Date: 2004
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: While some of the Hmong refugees from Laos living at Thamkrabok had made their homes on the temple's grounds since the early 1960s, many others came to join friends and family there in the late 1980's and early 1990's as refugee camps throughout Thailand were closed. Given their prolonged refugee situation and the lack in international assistance until recent years, the Hmong of Thamkrabok, lide Hmong in centuries past, have adapted, assimilated, and adjusted to their distinct circumstances in such a manner that has enabled them to persist despite the very difficult and complex situation in which they are found themselves unable to return to their country of origin, were greatly limited in their current location because of their ineligibility for Thai citizenship, and until December 2003, were unable to resettle to a third country. Throughout this adaptation and adjustment process, many of their cultural traditions have been maintained while some aspects of their cultural identity have been adjusted in order to continue as a distinct, cultural group despite limitations on their movement and restricted access to resources and opportunity. This particular project sought to determine a brief history of Hmong culture and traditions in order to further explore and analyze the cultural identity for Hmong refugees from Laos living in Wat Thamkrabok, Saraburi, Thailand. In identifying this distinct cultural identity for the Hmong of Thamkrabok, it became clear that many of their traditions continued as they had previously. Much of this continuity was enabled through the four major cultural mechanisms of the Hmong-leadership, language, religion, and family-which were manifested in the Hmong New Year, wedding, and funeral rituals, and served as an essential means of preserving much of their cultural identity. Many of the areas in which refugees adapted and adjusted were due to economic factors because of their inability to secure regular work and still support their families with no international assistance
Other Abstract: ในขณะที่ผู้ลี้ภัยชาวม้งจากลาวที่อาศัยอยู่ที่ถ้ำกระบอก ได้ใช้พื้นที่บริเวณวัดถ้ำกระบอกเป็นที่อยู่อาศัยมาตั้งแต่ระยะต้นทศวรรษ 1960 ม้งอีกจำนวนมากได้มาอยู่กับเพื่อนและครอบครัวที่ถ้ากระบอกในปลายทศวรรษ 1980 และต้นทศวรรษ 1990 เพราะได้เปิดแค้มป์ผู้ลี้ภัยทั่วประเทศ เพราะอยู่ในสภาพเป็นผู้ลี้ภัยเป็นระยะเวลาที่ยาวนาน และไม่ได้รับการช่วยเหลือจากต่างประเทศจนเมื่อไม่นานมานี้เอง คนม้งที่ถ้ำกระบอกเช่นเดียวกับชาวม้งในทศวรรษที่ผ่านมา รู้จักเปลี่ยนแปลง ผสมกลมกลืน และปรับตัวให้เข้ากับสภาพแวดล้อมที่เด่นชัด ทำให้สามารถดำรงความเป็นอยู่ได้ แม้ในสภาพที่ยากลำบากและซับซ้อน เพราะไม่สามารถกลับไปอยู่ยังถิ่นฐานเดิมได้ แต่การปรับตัวก็ทำได้จำกัดเนื่องจากไม่ได้สิทธิเป็นพลเมืองไทย และจนกระทั่งธันวาคม 2003 ยังไม่สามารถไปตั้งหลักแหล่งในประเทศที่สามได้ ในกระบวนการของการปรับเปลี่ยนนั้น ประเพณีนิยมเดิมๆ ของคนม้งยังดำรงอยู่ได้ แต่เอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมบางด้านได้ถูกปรับเปลี่ยน เพื่อให้สามารถคงสภาพความเป็นกลุ่มทางวัฒนธรรมที่โดดเด่น ทั้งๆ ที่ถูกจำกัดการไปมา และเข้าถึงแหล่งทรัพยากรและโอกาสได้อย่างจำกัด การศึกษานี้มุ่งที่จะระบุถึงประวัติวัฒนธรรมคนม้งอย่างย่อๆ เพื่อจะได้นำไปสำรวจและวิเคราะห์เอกลักษณ์วัฒนธรรม ของผู้ลี้ภัยชาวม้งที่วัดถ้ำกระบอก จังหวัดสระบุรี การระบุถึงเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมที่เด่นชัดของคนม้ง ที่ถ้ำกระบอกเห็นได้ชัดเจนว่า ประเพณีนิยมหลายอย่างยังคงดำเนินต่อไปอย่างที่เคยเป็นๆ มา ความต่อเนื่องที่ว่านี้เกิดขึ้นได้เพราะกลไกวัฒนธรรมที่สำคัญสี่ประการของคนม้งคือ ภาวะผู้นำ ภาษา ศาสนา และครอบครัว ซึ่งจะปรากฏให้เห็นในพิธีกรรมเกี่ยวกับปีใหม่ การแต่งงาน และพิธีศพ อันได้กลายเป็นวิธีการที่สำคัญในทางคงสภาพเอกลักษณ์ทางวัฒนธรรมเอาไว้ ในประเด็นที่คนม้งจักต้องปรับตัวมักเป็นเรื่องทางเศรษฐกิจ เพราะไม่สามารถหางานทำถาวรได้ ทั้งยังต้องเลี้ยงดูครอบครัวโดยไม่ได้รับความช่วยเหลือใดๆ จากนานาชาติ
Description: Thesis (M.A.)--Chulalongkorn University, 2004
Degree Name: Master of Arts
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Southeast Asian Studies (Inter-Department)
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4055
ISBN: 9745321516
Type: Thesis
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Bleser.pdf2.29 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.