Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41365
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | ปารเมศ ชุติมา | - |
dc.contributor.author | ศิริพร เจริญวัฒนาชัยกุล | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์ | - |
dc.date.accessioned | 2014-03-19T09:37:06Z | - |
dc.date.available | 2014-03-19T09:37:06Z | - |
dc.date.issued | 2549 | - |
dc.identifier.isbn | 9741425759 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/41365 | - |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2549 | en_US |
dc.description.abstract | งานวิจัยฉบับนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาแผนกลยุทธ์ระดับองค์กรที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทั้งภายในและภายนอกองค์กร และนำกิจกรรมเชิงกลยุทธ์ที่สอดคล้องกับแผนกลยุทธ์ที่ได้วางแผนไว้ไปใช้ในการบริหารงาน โดยนำเอาการบริหารเชิงดุลยภาพ (BSC) มาประยุกต์ใช้ในการบริหารเชิงกลยุทธ์ ขั้นตอนการศึกษาวิจัยสามารถแบ่งออกเป็น 3 ส่วน คือ (1) การวางแผนกลยุทธ์ระดับองค์กรโดยเริ่มต้นจากการกำหนดวิสัยทัศน์ ภารกิจ ค่านิยม นโยบาย จากนั้นวิเคราะห์ปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อโอกาส อุปสรรค และปัจจัยภายในโรงงานกรณีศึกษา เพื่อหาจุดแข็ง จุดอ่อน แล้วนำการวิเคราะห์ที่ได้มาประเมินเป็นคะแนนถ่วงน้ำหนักเพื่อวางกลยุทธ์ระดับองค์กร (2) จัดทำการบริหารเชิงดุลยภาพระดับองค์กรและฝ่ายแล้วแปลง การบริหารเชิงดุลยภาพระดับฝ่ายสู่ดัชนีชี้วัดสมรรถนะหลักหลักระดับแผนก และ (3) คัดเลือกกิจกรรมกลยุทธ์ ที่ได้จากการจัดทำการบริหารเชิงดุลยภาพมาปฏิบัติมาใช้จริง ภายหลังจากการดำเนินงานตามขั้นตอนของกระบวนการบริหารเชิงกลยุทธ์ ตามแนวคิดของการบริหารเชิงดุลยภาพ (BSC) พบว่า กลยุทธ์ระดับองค์กรที่เหมาะสมสำหรับโรงงาน คือ กลยุทธ์การเจริญเติบโตขยายตัวในแนวนอน จากการจัดทำการบริหารเชิงดุลยภาพ และพัฒนาดัชนีชี้วัดสมรรถนะหลัก (KPI) พบว่า ผลการประเมินความเหมาะสมของดัชนีชี้วัดสมรรถนะหลักมีคะแนนความเหมาะสมเฉลี่ยมากกว่าดัชนีวัดสมรรถนะหลักเดิมสรุปได้ว่าดัชนีชี้วัดสมรรถนะหลักที่พัฒนาขึ้นมีความเหมาะสมกับโรงงานมากกว่าดัชนีวัดสมรรถนะหลักเดิมสุดท้าย จากการเลือกพัฒนาระบบบำรุงรักษาโดยสร้างระบบสารสนเทศของระบบการจัดการบำรุงรักษาด้วยคอมพิวเตอร์ขึ้น (Computerized Maintenance Management System : CMMS) ซึ่งหลังจากนำโปรแกรมบำรุงรักษาด้วยคอมพิวเตอร์ (CMMS) มาใช้จริงช่วยทำให้การสั่งงาน และการรายงานผลการซ่อมบำรุงรักษามีความถูกต้อง และสะดวกรวดเร็วกว่าระบบซ่อมบำรุงรักษาแบบเดิมอย่างมีนัยสำคัญ รวมถึงมีการนำข้อมูลบางรายการ (Share) จากในแผนกไปใช้ประโยชน์ยังแผนกและฝ่ายอื่นๆ ถึง 20 รายการต่อไตรมาส | - |
dc.description.abstractalternative | The objectives of this research are to develop corporate strategies appropriate with environments inside and outside the organization and bring strategic activities matched with strategic plan into management by applying balanced scorecard to strategic management. Research steps can be divided into 3 main steps as follows; (1) Corporate strategic planning: Start from determine vision, mission, value, policy and objectives. After that, analyzing external factors affecting to opportunities and threats and internal factors to know strengths and weaknesses and use obtained analysis as weight score for set corporate strategies. (2) Make corporate balanced scorecard and cascade as key performance indicators (KPI) to department level and division level respectively. (3) Select initiatives from balanced scorecard to apply. After operating steps of strategic management process in accordance with balance scorecard concept, we find that suitable corporate strategy is horizontal growing strategy. Regarding making balanced scorecard and developing key performance indicators (KPI), we find that KPI appropriateness evaluating score of the new KPI is higher than the previous one, so we can conclude that new developed KPI are more appropriate than the previous one. Lastly, regarding maintenance system development by creating Computerized Maintenance Management System (CMMS), its application can make instruction and reporting of maintenance quicker and have more accuracy than the original system significantly; moreover, it can share 20 items data per quarter from maintenance department to other departments or divisions. | - |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2006.784 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.title | การบริหารเชิงกลยุทธ์ : กรณีศึกษาโรงงานผลิตโคมไฟ | en_US |
dc.title.alternative | Strategic management : Case study of electrical lamphead pactory | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | วิศวกรรมอุตสาหการ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2006.784 | - |
Appears in Collections: | Eng - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Siriporn_cha_front.pdf | 2.03 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siriporn_cha_ch1.pdf | 1.74 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siriporn_cha_ch2.pdf | 4.75 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siriporn_cha_ch3.pdf | 3.47 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siriporn_cha_ch4.pdf | 13.3 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siriporn_cha_ch5.pdf | 4.21 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siriporn_cha_ch6.pdf | 1.31 MB | Adobe PDF | View/Open | |
Siriporn_cha_back.pdf | 19.22 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.