Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4196
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorPunya Charusiri-
dc.contributor.advisorWatkins, Ron-
dc.contributor.authorNannapat Natchakunlasap-
dc.contributor.otherChulalongkorn University. Graduate School-
dc.coverage.spatialThailand-
dc.date.accessioned2007-09-19T11:43:04Z-
dc.date.available2007-09-19T11:43:04Z-
dc.date.issued2004-
dc.identifier.isbn9741764561-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4196-
dc.descriptionThesis (M.Sc.) -- Chulalongkorn University, 2004en
dc.description.abstractRecently metals contamination in the Pattani river has become an acute problem of Pattani city. The abandoned mines in the Tum Talu watershed are suspected to be sources of heavy metals pollution in surface and groundwater system. Field investigations and stream sediments sampling have been carried out to examine the distribution pattern and sources of toxic metals. Fine fractions of stream sediments collected from 63 locations underwent partial digestion, and were analyzed by ICP-OES for As, Cd, Pb, Cr, Cu and Zn concentrations. Mine waste dumps, mineralized outcrops and landfill leaks discharging typical acid mine drainage clearly indicate that they are sources of contaminant metals. Distribution patterns show markedly high levels of metals in the downstream areas of abandoned mines and landfills. Concentrations of As, Pb and Cu decrease slightly downstream areas, away from sources at abandoned mines and landfills, but Zn and Cd concentrations gradually increase. The As, Cd, Pb, Cu and Zn concentrations begin to be contaminated upstream areas of abandoned miens and seriously contaminated downstream areas of abandoned mines and landfills. Chromium concentration is not a contaminant in this watershed. Antropogenic activity in the watershed, waste emanating from abandoned mines and especially leakages from landfills which contain hazardous wastes, are major sources of toxic metals contaminating stream sediments in the Tum Talu watershed. However, mineralization of skarns and ores which are considered as being natural occurrences are very minor sources.en
dc.description.abstractalternativeงานวิจัยนี้เป็นการศึกษาเพื่อหาลักษณะ การกระจายตัวและแหล่งกำเนิดของโลหะหนัก ในตะกอนธารน้ำ ในบริเวณสันปันน้ำถ้ำทะลุ เนื่องมาจากไม่นานมานี้พบการปนเปื้อนของโลหะหนักในแม่น้ำปัตตานี เหมืองร้างในสันปันน้ำถ้ำทะลุถูกสงสัยว่า น่าจะเป็นแหล่งที่มาของโลหะหนักปนเปื้อนในระบบน้ำผิวดินและน้ำใต้ดิน การออกภาคสนามและการสุ่มเก็บตัวอย่างตะกอนธารน้ำถูกนำมาเพื่อวิเคราะห์หารูปแบบการกระจายตัวและแหล่งกำเนิดของโลหะหนัก ตะกอนธารน้ำขนาดละเอียดซึ่งถูกรวบรวมมาจาก 63 ตำแหน่ง นำมาผ่านการย่อยบางส่วน และวิเคราะห์หาค่าโลหะหนัก ด้วยเครื่องวิเคราะห์ไอซีพีโออีเอส กองของเสียจากเหมือง, หน้าเหมืองร้างและ การรั่วของที่ฝั่งกลบของเสีย ได้ระบายน้ำกรดเหมือง ซึ่งเป็นตัวชี้ชัดถึงแหล่งที่มาของสารปนเปื้อน รูปแบบการกระจายตัวของความเข้มข้นของโลหะหนัก ในตะกอนธารน้ำนั้นแสดงค่าสูงในบริเวณตอนล่างสายน้ำของเหมืองร้างและที่ฝังกลบของเสีย ตรงกันข้ามกับบริเวณตอนบนสายน้ำของเหมืองร้าง แสดงค่าต่ำกว่า ความเข้มข้นของโลหะ อาร์เซนิก ตะกั่ว และทองแดง ค่อยลดลงทีละน้อยไปจากแหล่งกำเนิดในเหมืองร้างและที่ฝังกลบของเสียในบริเวณตอนล่างสายน้ำ แต่ความเข้มข้นของสังกะสี และแคดเมียม เพิ่มขึ้นทีละน้อยพบการปนเปื้อนของโลหะ อาร์เซนิก แคดเมียม ตะกั่ว ทองแดง และสังกะสีในตะกอนธารน้ำ ตั้งแต่ตอนบนสายน้ำของเหมืองร้าง และพบการปนเปื้อนอย่างมาก ตอนล่างสายน้ำของเหมืองร้างและที่ฝั่งกลบของเสีย แต่ไม่พบการปนเปื้อนของโลหะโครเมี่ยม ในสันปันน้ำนี้ กิจกรรมของมนุษย์ในสันปันน้ำเช่น การกระจายของของเสียโลหะหนักจากเหมืองร้างและโดยเฉพาะอย่างยิ่ง การรั่วของที่ฝังกลบของเสียซึ่งบรรจุไปด้วยของเสียอันตราย เป็นแหล่งกำเนิดของโลหะหนักเป็นพิษ ปนเปื้อนในตะกอนธารน้ำในสันปันน้ำถ้ำทะลุ อย่างไรก็ตาม แหล่งแร่สกานร์และสินแร่ซึ่งปรากฏอยู่ในธรรมชาติเป็นแหล่งกำเนิดส่วนน้อยมาก โดยธรรมชาติen
dc.format.extent3115561 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isoenen
dc.publisherChulalongkorn Universityen
dc.rightsChulalongkorn Universityen
dc.subjectSediments (Geology) -- Analysisen
dc.subjectHeavy metalen
dc.titleDistribution and sources of heavy metals in stream sediments in Tum Talu watershed Bunnung Sata Yala Southern Thailanden
dc.title.alternativeการกระจายตัวและแหล่งกำเนิดของโลหะหนักในตะกอนธารน้ำในบริเวณสันปันน้ำถ้ำทะลุ อำเภอบันนังสตา จังหวัดยะลา ภาคใต้ ประเทศไทยen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameMaster of Scienceen
dc.degree.levelMaster's Degreeen
dc.degree.disciplineEnvironmental Management (Inter-Department)en
dc.degree.grantorChulalongkorn Universityen
dc.email.advisorcpunya@chula.ac.th-
dc.email.advisorR.Watkins@curtin.edu.au.-
Appears in Collections:Grad - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
nannapat.pdf2.43 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.