Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42110
Title: Utilization of palm oil alkyl esters as an additive in ethanol-diesel and butanol-diesel blends
Other Titles: การใช้ไบโอดีเซลเป็นสารเติมแต่งในเชื้อเพลิงผสมระหว่างเอทานอล-ดีเซล และบิวทานอล-ดีเซล
Authors: Areerat Chotwichien
Advisors: Apanee Luengnaruemitchai
Samai Jai-in
Other author: Chulalongkorn University. The Petroleum and Petrochemical College
Issue Date: 2007
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: Diesohol is a blend of diesel fuel, alcohol and an additive. The major impact of diesohol on engine performance is a significant reduction in visible smoke and particulate matter emissions. However, the major drawback in diesohol is that ethanol changes the fuel characteristics of the blend, especially by causing instability and reducing the cetane number. Therefore, this research focuses on the use of biodiesel as an additive in the diesohol preparation. Three types of Biodiesel-methyl, ethyl, and butyl esters-were prepared from palm oil through transesterification using a conventional base catalyst. Apart from ethanol, butanol is also another option to improve both solubility and fuel properties of the blends. Therefore, a comparative study of phase stability, the dependence of solubility on temperature (10, 20 and 30C), and an evaluation of some basic fuel properties according to ASTM of ethanol-diesel-biodiesel and butanol-diesel-biodiesel three-component systems at different component concentrations was done. We found that the use of butanol in diesohol could solve the problem of fuel instability at low temperatures because of its higher solubility in diesel fuel. In addition, the fuel properties results indicated that blends containing butanol have properties closer to diesel than those of blends containing ethanol.
Other Abstract: ดีโซฮอล์ หรือเชื้อเพลิงผสมระหว่างน้ำมันดีเซล แอลกอฮอล์และสารเติมแต่ง การใช้ดีโซฮอล์ในเครื่องยนต์ดีเซล ช่วยให้การเผาไหม้ของเชื้อเพลิงสะอาดยิ่งขึ้น โดยเฉพาะการลดปริมาณก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ และสารประกอบไฮโดรคาร์บอนที่เผาไหม้ไม่หมดจากท่อไอเสียของรถยนต์ แต่เนื่องจากการผสมเอทานอลลงในน้ำมันดีเซลไม่สามารถเข้ากันได้ดีและจะแยกชั้นเมื่อทิ้งไว้นาน และเอทานอลยังส่งผลให้ค่าซีเทน ของเชื้อเพลงผสมต่ำลง ด้วยอุปสรรคเหล่านี้ จึงเป็นที่มาของงานวิจัย ในการนำไบโอดีเซลมาเป็นสารเติมแต่งเพื่อปรับปรุงคุณภาพของดีโซฮอล์ งานวิจัยนี้ใช้ไบโอดีเซลดีเซล 3 ชนิด (เมทิลเอสเทอร์ เอทิลเอสเทอร์ และบิวทิลเอสเทอร์) ผลิตจากน้ำมันปาล์มผ่านกระบวนการทรานซ์เอสเทอริฟิเคชั่น โดยใช้ตัวเร่งปฏิกิริยาเบส นอกเหนือจากเอทานิล บิวทานอลก็เป็นเชื้อเพลิงเหลวอีกตัวหนึ่งที่น่าสนใจ ในการนำมาใช้เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการละลายให้เข้ากันได้และปรับปรุงคุณสมบัติทางเชื้อเพลิงของเชื้อเพลิงผสม ดังนั้นงานวิจัยนี้ศึกษาความสามารถในการละลายเป็นเนื้อเดียวกันที่อุณหภูมิ 10, 20, และ 30C และเพื่อศึกษาคุณสมบัติต่าง ๆ ทางเชื้อเพลิงของเชื่อเพลิงผสมระหว่างเอทานอล ดีเซล และไบโอดีเซล และเชื้อเพลิงผสมระหว่างบิวทานิล ดีเซล และไบโอดีเซล ผลจากการวิจัยพบว่า การใช้บิวทานอลผสมในดีเซลสามารถแก้ปัญหาแยกชั้นได้ เพราะบิวทานอลสามารถละลายในน้ำมันดีเซลได้มากกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับความสามารถในการละลายของเอทานอลในน้ำมันดีเซล และเชื้อเพลิงผสมบิวทานอลยังมีคุณสมบัติทางเชื้อเพลิงใกล้เคียงกับมาตรฐานของน้ำมันดีเซล
Description: Thesis (M.S.) -- Chulalongkorn University, 2007
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Petrochemical Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42110
Type: Thesis
Appears in Collections:Petro - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
Areerat_Ch_front.pdf1.8 MBAdobe PDFView/Open
Areerat_Ch_ch1.pdf852.71 kBAdobe PDFView/Open
Areerat_Ch_ch2.pdf3.44 MBAdobe PDFView/Open
Areerat_Ch_ch3.pdf1.6 MBAdobe PDFView/Open
Areerat_Ch_ch4.pdf4.3 MBAdobe PDFView/Open
Areerat_Ch_ch5.pdf777.88 kBAdobe PDFView/Open
Areerat_Ch_back.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.