Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42185
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลิสา วัชรสินธุ-
dc.contributor.authorกฤตพงศ์ มาสอาด-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์-
dc.coverage.spatialไทย-
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ-
dc.date.accessioned2014-04-17T07:30:03Z-
dc.date.available2014-04-17T07:30:03Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42185-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาความชุกของภาวะวิตกกังวลและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในเขตกรุงเทพมหานคร วิธีการศึกษา : เก็บรวบรวมข้อมูลจากนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่กำลังศึกษาอยู่ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา กรุงเทพมหานคร (สพป.) จำนวน 170 คน โดยสุ่มจาก 37 โรงเรียนในกรุงเทพมหานคร เครื่องมือในการคัดกรอง ได้แก่ 1) แบบสอบถามข้อมูลพื้นฐานและปัจจัยทางจิตสังคม 2) แบบประเมินภาวะวิตกกังวล Thai State-Trait Anxiety Inventory for Children-Revised (STAIC-R) ซึ่งพัฒนามาจาก STAIC ของ Spielberger และคณะ (1973) สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ใช้ Chi-Square และ T-test เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะวิตกกังวล และใช้ Multiple Logistic Regression เพื่อหาปัจจัยทำนายภาวะวิตกกังวล ผลการศึกษา : พบอัตราความชุกของภาวะวิตกกังวลแบบ State และ Trait ในเด็กชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ร้อยละ 32.9 และ 33.5 ตามลำดับ ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะวิตกกังวลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ได้แก่ การอาศัยอยู่กับพ่อแม่และศาสนา ปัจจัยที่สามารถทำนายภาวะวิตกกังวลอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.05) ได้แก่ การอาศัยอยู่กับพ่อแม่ สรุป : ความชุกของภาวะวิตกกังวลจากการศึกษาในครั้งนี้สูงกว่าการศึกษาอื่น ๆ ในนักเรียนชั้นประถมศึกษาทั่วไป การทราบปัจจัยเสี่ยงจะช่วยให้บุคคลหรือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องสามารถวางแผนช่วยเหลือ แก้ไข และป้องกันได้อย่างเหมาะสมต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeObjective: To study the prevalence of anxiety and associated factors among Grade five students in Bangkok. Method: Data were collected from 170 students that belong to Bangkok Primary Educational Service Area Office. Students were recruited by multistage random sampling from 37 schools. The instruments were 1) General background 2) Thai State-Trait Anxiety Inventory for children-Revised (STAIC-R). Statistical analyses consisted of percentage, mean, standard deviation. Chi-Square and T-test were used to examine associated factors with anxiety. Multiple Logistic Regression was used to determine the predictors of anxiety in children among this group of Grade five students. Result: The overall prevalence of State and Trait Anxiety in Grade five students in Bangkok were 32.9% and 33.5% respectively. Factors significantly related to anxiety were Parents living apart and Religion. A parent living apart was the only one factor predicted with anxiety (p<0.05). Conclusion: In this study, the prevalence of anxiety in Bangkok primary school students was higher than other studies. The finding of the risk factor will help related person or organization for providing an appropriate assistance.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.721-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความวิตกกังวลในเด็กen_US
dc.subjectจิตวิทยาเด็กen_US
dc.subjectนักเรียนประถมศึกษา -- ไทย -- กรุงเทพฯ -- จิตวิทยาen_US
dc.subjectAnxiety in childrenen_US
dc.subjectChild psychologyen_US
dc.subjectSchool children -- Thailand -- Bangkok -- Psychologyen_US
dc.titleความชุกของภาวะวิตกกังวลและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ในเขตกรุงเทพมหานครen_US
dc.title.alternativePrevalence of anxiety and associated factors in grade five students in Bangkoken_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisoralisa_wacharasindhu@hotmail.com-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.721-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
krittapong_ma.pdf2.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.