Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42225
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชญาพิมพ์ อุสาโห-
dc.contributor.authorแก้วตา พึ่งตนเอง-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะครุศาสตร์-
dc.date.accessioned2014-04-25T08:05:53Z-
dc.date.available2014-04-25T08:05:53Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42225-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ค.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงสำรวจ(Survey Research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาพการ บริหารโรงเรียนคุณธรรมชั้นนำในภาคตะวันออก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษา ขั้นพื้นฐาน มีกรอบแนวคิดการใช้วงจรคุณภาพ (PDCA Cycle) ในการบริหารโรงเรียนคุณธรรม ชั้นนำทั้ง 3 ด้าน คือ ด้านการปลูกฝังคุณธรรม (คุณธรรมเพื่อพัฒนาตน คุณธรรมเพื่อพัฒนา การทำงานและคุณธรรมเพื่อ การอยู่ร่วมกันในสังคม) ด้านหลักธรรมาภิบาลในการบริหารงาน และด้านเศรษฐกิจพอเพียงควบคู่ คุณธรรม เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามที่มีลักษณะเป็นแบบตรวจสอบรายการ (Checklist) และมาตราส่วนประมาณค่า (Rating scale) โดยเก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่าง เทียบจากตาราง Krejcie and Morgan ระดับความเชื่อมั่น 95% จากประชากร 103 โรงเรียน ได้กลุ่มตัวอย่าง 86 โรงเรียน ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงเรียนจำนวน 86 คน หัวหน้าผู้รับผิดชอบโครงการจำนวน 86 คน ครูจำนวน 86 คน รวมผู้ให้ข้อมูล จำนวน 258 คน จากโรงเรียนคุณธรรมชั้นนำในภาคตะวันออกในจังหวัด ชลบุรี ระยอง จันทบุรี และตราด โดยใช้วิธีการสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย (Simple Random Sampling) วิเคราะห์ ข้อมูลโดยใช้ค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ยเลขคณิต และค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยสรุปได้ ดังนี้ สภาพการบริหารโรงเรียนคุณธรรมชั้นนำในภาคตะวันออก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน พิจารณาในภาพรวม พบว่ากระบวนการวางแผน (P-Plan) การปฏิบัติ ตาม แผน (D-Do) การตรวจสอบผลการดำเนินงาน (C-Check) และการปรับปรุงให้เหมาะสมตาม ผลการ ประเมิน(A-Act) มีการปฏิบัติในระดับมากที่สุด สำหรับค่าเฉลี่ยสูงสุด ได้แก่ ด้านการปฏิบัติตามแผน รองลงมา ด้านการวางแผน และด้านการปรับปรุง ให้เหมาะสมตามผลการประเมิน ส่วนค่าเฉลี่ยต่ำสุด ได้แก่ ด้านการตรวจสอบผลการดำเนินงานen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research was to study the state of school administration of leading moral schools under the Office of the Basic Education Commission in the eastern region using the framework of PDCA (Deming Cycle) to administer the leading moral schools based on three aspects: cultivate moral: self development moral, work moral and society coexistence moral, good governance for administration and Sufficiency economy with moral. This research using questionnaires with checklist and rating scale for 258 informants comprising 86 administrators 86 project directors and 86 instructors from leading moral schools in the eastern region provinces Chon Buri, Rayong, Chantaburi and Trad. The data were analyzed using percentage, mean and standard deviation. The research findings were summarized as follows: The results of the study revealed that the practice on the PDCA cycle to administer the leading moral schools as a whole, was rated at the highest level. Considering each aspect, it was found that the maximum mean fell on D-Do, followed by P-Plan, and the lowest mean on C-Check.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.94-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรงเรียน -- การบริหารen_US
dc.subjectSchool management and organizationen_US
dc.titleการศึกษาสภาพการบริหารโรงเรียนคุณธรรมชั้นนำในภาคตะวันออก สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานen_US
dc.title.alternativeA study of the state of school administration of the leading moral schools under the Office of the Basic Education Commission in the Eastern regionen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameครุศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบริหารการศึกษาen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorChayapim.U@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.94-
Appears in Collections:Edu - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kaewta _ph.pdf2.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.