Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42657
Title: ENCAPSULATION OF EXTRACT FROM MULBERRY Morus alba L. LEAVES BY POLYMER-POLYMER INTERACTIONS
Other Titles: การกักเก็บสารสกัดจากใบหม่อน Morus alba L. โดยอันตรกิริยาระหว่างพอลิเมอร์
Authors: Methavee Peanparkdee
Advisors: Chaleeda Borompichaichartkul
Kiattisak Duangmal
Other author: Chulalongkorn University. Faculty of Science
Advisor's Email: Chaleeda.B@chula.ac.th
kiattisak.d@chula.ac.th
Subjects: Plant extracts
Antioxidants
สารสกัดจากพืช
แอนติออกซิแดนท์
เทคโนโลยีการผลิตอาหาร
Issue Date: 2013
Publisher: Chulalongkorn University
Abstract: This research was aimed to develop microcapsules from mulberry leaf extract using polymer-polymer interaction method. Firstly, the extraction of antioxidants from mulberry leaves was determined using 4 concentrations of ethanol (50%, 60%, 70% and 95% v/v). It was found that 60% ethanol extract (60EM) had total phenolics content of 122.21 mg GAE/g dried leaves and antioxidant properties (using FRAP and DPPH) of 51.83 and 10.45 mmol trolox/g dried leaves, respectively. These values were significantly higher than those in other extracts. In determination of type of flavonoids using LC-MS, it was found that mulberry leaves extract contained rutin, quercetin, isoquercetin, quercetin glucoside, quercitrin and astragalin. The suitable core material in encapsulation process by polymer-polymer interaction method was then determined. Coating materials were a combination of soy protein isolate (SPI) and low methoxyl pectin and core materials were 60EM and 95EM. The result presented that encapsulation efficiency and total phenolics content of microcapsules from 60EM and 95EM was not significantly different (p > 0.05). Therefore, both extracts were used for study the suitable final pH of mixed solution (3.5, 4.0 and 4.5) in polymer-polymer interaction process. It was found that microcapsules from 60EM with pH adjusted to 4.0 showed 50.29% encapsulation yield with 13.55% encapsulation efficiency. Total phenolics content was 57.04 mg GAE/g microcapsules, antioxidant properties was 25.20 mmol trolox/g microcapsules (FRAP) and 12.68 mmol trolox/g microcapsules (DPPH). Amount of rutin and quercetin was 0.49 and 6.24 × 10-3 mg/g microcapsules, respectively. The antioxidant activities of this condition were significantly higher than those in microcapsules produced using other conditions (p ≤ 0.05). This condition was used for study the suitable concentration of coating materials (SPI and pectin) in microcapsules production. The concentration of SPI and pectin was varied in 3 values (2.5, 5.0 and 7.5% w/v) at a 1:1 ratio. It was found that microcapsules produced by using 7.5% w/v of SPI and 7.5% w/v pectin gave encapsulation yield of 69.52%, encapsulation efficiency of 15.22%, total phenolics content of 73.37 mg GAE/g microcapsules. Antioxidant activities was 27.71 mg trolox/g microcapsules, for FRAP and 20.13 mg trolox/g microcapsules, for DPPH. The antioxidant activities of this condition were significantly higher than those in microcapsules produced using other concentrations of coating materials (p ≤ 0.05).
Other Abstract: งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อผลิตไมโครแคปซูลจากใบหม่อนด้วยวิธีการเกิดอันตรกิริยาระหว่างพอลิเมอร์ ในขั้นตอนแรกศึกษาการสกัดสารต้านออกซิเดชันจากใบหม่อนโดยแปรความเข้มข้นเอทานอล 4 ระดับ (50, 60, 70 และ 95% v/v) พบว่า สารสกัดที่ใช้เอทานอล 60% (60EM) มีปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด 122.21 มิลลิกรัมกรดแกลลิคต่อกรัมใบหม่อนแห้ง และฤทธิ์การต้านออกซิเดชัน (ตรวจวัดด้วยวิธี FRAP และ DPPH) 51.83 และ 10.45 มิลลิโมลโทรลอกซ์ต่อกรัมใบหม่อนแห้ง ซึ่งมีค่าสูงกว่าในสารสกัดอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p ≤ 0.05) จากการวิเคราะห์ชนิดของสารฟลาโวนอยด์ ด้วย LC-MS พบว่า สารสกัดใบหม่อนประกอบด้วยรูทิน เควอซิทิน ไอโซเควอซิทิน เควอซิทินกลูโคไซด์ เควอซิทริน และแอสทรากาลิน ในกระบวนการเอนแคปซูเลชันโดยใช้หลักการเกิดอันตรกิริยาระหว่างพอลิเมอร์ สารเคลือบคือ โปรตีนถั่วเหลืองสกัด และเพคตินชนิดเมธอคซิลต่ำ และสารแกนกลางคือ สารสกัด 60EM และ95EM ผลการศึกษาพบว่า ไมโครแคปซูลที่บรรจุ 60EM และ 95EM มีค่าร้อยละประสิทธิภาพการกักเก็บ และปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมดไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p > 0.05) จึงนำสารสกัดทั้ง 2 ชนิดไปศึกษาค่า pH สุดท้ายของสารผสม (3.5, 4.0 และ 4.5) ที่เหมาะสมในการผลิตไมโครแคปซูล พบว่า ไมโครแคปซูลที่บรรจุ 60EM ที่ผลิตโดยการปรับค่า pH สุดท้ายของสารผสมเป็น 4.0 มีค่าร้อยละผลที่ได้ 50.29 ค่าร้อยละประสิทธิภาพการกักเก็บ 13.55 ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด 57.04 มิลลิกรัมกรดแกลลิกต่อกรัมไมโครแคปซูล ฤทธิ์การต้านออกซิเดชัน 25.20 มิลลิโมลโทรลอกซ์ต่อกรัมไมโครแคปซูล (วิธี FRAP) และ 12.68 มิลลิโมลโทรลอกซ์ต่อกรัมไมโครแคปซูล (วิธี DPPH) ตามลำดับ และปริมาณรูทินและเควอซิทินเท่ากับ 0.49 และ 6.24 × 10-3 มิลลิกรัมต่อกรัมไมโครแคปซูล ตามลำดับ ซึ่งมีค่าสูงกว่าใน ไมโครแคปซูลที่ผลิตโดยใช้ภาวะอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p ≤ 0.05) เมื่อแปรความเข้มข้นของสารเคลือบ (โปรตีนถั่วเหลืองสกัด และเพคติน) ที่เหมาะสมในการผลิตไมโครแคปซูล 3 ระดับ (2.5, 5.0 และ 7.5% w/v) โดยใช้อัตราส่วนเท่ากับ 1:1 พบว่า ไมโครแคปซูลที่ผลิตโดยใช้โปรตีนถั่วเหลืองสกัด และเพคตินความเข้มข้น 7.5% w/v ให้ค่าร้อยละผลที่ได้ 69.52 ค่าร้อยละประสิทธิภาพการกักเก็บ 15.22 ปริมาณสารประกอบฟีนอลิกทั้งหมด 73.37 มิลลิกรัมกรดแกลลิกต่อกรัมไมโครแคปซูล และฤทธิ์การต้านออกซิเดชัน 27.71 มิลลิโมลโทรลอกซ์ต่อกรัมไมโครแคปซูล (วิธี FRAP) และ 20.13 มิลลิโมลโทรลอกซ์ต่อกรัมไมโครแคปซูล (วิธี DPPH) ซึ่งมีค่าสูงกว่าในไมโครแคปซูลที่ผลิตโดยใช้สารเคลือบความเข้มข้นอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p ≤ 0.05)
Description: Thesis (M.Sc.)--Chulalongkorn University, 2013
Degree Name: Master of Science
Degree Level: Master's Degree
Degree Discipline: Food Technology
URI: http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42657
URI: http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.132
metadata.dc.identifier.DOI: 10.14457/CU.the.2013.132
Type: Thesis
Appears in Collections:Sci - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5472074023.pdf4.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.