Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42946
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorพิมพ์รำไพ เปรมสมิทธ์en_US
dc.contributor.authorชลลดา เกตวัลห์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะอักษรศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:22:44Z
dc.date.available2015-06-24T06:22:44Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42946
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (อ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการรับสารนิเทศของผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทสารคดี ในด้านแหล่งที่รับสารนิเทศ เนื้อหาสารนิเทศ การจัดการกับสารนิเทศที่ได้รับ รวมถึงปัญหาในการรับสารนิเทศของผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทสารคดี โดยใช้แบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทสารคดีจำนวนมากที่สุด สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี และมีประสบการณ์ 6 – 10 ปี โดยผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทสารคดีทุกคน รับสารนิเทศด้านสาระความรู้ จากแหล่งสารนิเทศบุคคล และแหล่งสารนิเทศสถาบัน/หน่วยงาน โดยนำไปใช้ประโยชน์เพื่อเขียนบทรายการโทรทัศน์ประเภทสารคดี สำหรับปัญหาที่ผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทสารคดีประสบในการรับสารนิเทศ พบว่า ในด้านเนื้อหาสารนิเทศนั้น ประสบปัญหาในระดับในระดับปานกลาง และระดับน้อย โดยปัญหาที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ เนื้อหาไม่ตรงกับความต้องการ ด้านแหล่งสารนิเทศ ประสบปัญหาในระดับปานกลาง และระดับน้อย โดยปัญหาที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ได้รับข้อมูลที่ไม่ถูกต้องจากแหล่งสารนิเทศ และด้านตัวผู้รับสารนิเทศประสบปัญหาในระดับน้อยทั้ง 4 เรื่อง โดยปัญหาที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุดคือ ไม่มีเวลาในการรับสารนิเทศen_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of this research were to investigate information reception of documentary television program producers, in terms of, sources of information, content of information and management of information on received, as well as problems in information reception that documentary television producers encountered, using structured interview as a data gathering tool. The result indicated that most of the producers received bachelor degree and have 6 – 10 years working experience. The producers received essential information from personal information sources and institutional/organization sources, using such information for program script writing. The content - related problems faced by the producers are at moderate and low level. The problem having the highest mean score is irrelevant content. They also encounter source problems at moderate and low level. The problem having the highest mean score is receiving inaccurate information form information source. They face receiver - related at low lavel, and the problem with highest mean score is not having time to receive information.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.419-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพฤติกรรมข่าวสาร
dc.subjectบุคลากรในการผลิตรายการโทรทัศน์
dc.subjectInformation behavior
dc.titleการรับสารนิเทศของผู้ผลิตรายการโทรทัศน์ประเภทสารคดีen_US
dc.title.alternativeINFORMATION RECEPTION OF DOCUMENTARY TELEVISION PROGRAM PRODUCERSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameอักษรศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineบรรณารักษศาสตร์และสารนิเทศศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpimrumpai.p@chula.ac.then_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.419-
Appears in Collections:Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5480127022.pdf4.42 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.