Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43314
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorปารีณา ศรีวนิชย์en_US
dc.contributor.authorกัณฑิมา ช่างทำen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:37:06Z
dc.date.available2015-06-24T06:37:06Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43314
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractวิทยานิพนธ์นี้มีวัตถุประสงค์ในศึกษาถึงปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ.2542 กับผู้กระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ที่มีการบังคับใช้มาแล้วเป็นเวลา 5 ปี โดยใช้วิธีการศึกษาวิจัยเอกสาร เปรียบเทียบกฎหมายประเทศไทยกับกฎหมายต่างประเทศ ผลการศึกษาวิจัยพบว่า การบังคับใช้กฎหมายป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินกับความผิดค้ามนุษย์ในปัจจุบันยังคงมีปัญหาสำคัญ 5 ประการ ได้แก่ (1) มีปัญหาความซ้ำซ้อนของความ ผิดมูลฐาน เกี่ยวกับเพศกับความผิดมูลฐานค้ามนุษย์ (2) มีปัญหาสภาพบังคับของความผิดฐานค้ามนุษย์กับปัญหาที่เกี่ยวกับลักษณะและความผิด (3) มีปัญหาในเรื่องการทำงานแบบบูรณาการของหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการกระทำความผิดฐานค้ามนุษย์ (4) มีปัณหาการประสานความร่วมมือของหน่วยงานป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินกับต่างประเทศในความผิดฐานค้ามนุษย์ และ (5) มีปัญหาการบังคับใช้กฎหมายฟอกเงินกับการค้ามนุษย์ที่ผู้กระทำความผิดเป็นขบวนการใหญ่ ผู้วิจัยจึงมีข้อเสนอว่าเพื่อประสิทธิภาพในการบังคับใช้กฎหมายประเทศไทยควรนำการทำงานในรูปแบบของ Task Force หรือที่เรียกว่า “การทำงานแบบสหวิชาชีพ”มาใช้บูรณาการองค์กรบังคับใช้กฎหมายค้ามนุษย์กับกฎหมายฟอกเงิน ดังมีตัวอย่างให้เห็นจากการศึกษากรณีศึกษาของมลรัฐแท็กซัสที่มีการจัดตั้งศูนย์ป้องกันการค้ามนุษย์แห่งแท็กซัส (The Texas Human Trafficking Prevention Task Force) และให้มีการกำซับให้เจ้าหน้าที่ของรัฐดำเนินคดีกับผู้กระทำความผิดทุกตัวบทกฎหมายทุกประการ ตลอดจนให้มีการประสานให้มีการดำเนินคดีค้ามนุษย์ที่มีลักษณะเป็นการประกอบอาชญากรรมที่มีลักษณะเป็นองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติตามพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการมีส่วนร่วมในองค์กรอาชญากรรมข้ามชาติ พ.ศ.2556en_US
dc.description.abstractalternativeThe objective of the study was to study Legal problems of enforcing the Anti-Money Laundering Act B.E. 2542 to human trafficking offender that was enforced for a period of five years. This research used a documentary research and compared Thai law and foreign laws. The results of the study were the law enforcement of the Anti-Money Laundering Act currently still had five major problems as follows: (1) the problem of overlapping predicate offinces relating to sexuality and offence of human trafficking; (2) the problem of sanction of offence of human trafficking and problem of nature and guilt; (3) the problem in the integration of the agency relating to offince of human trafficking; (4) the problem of cooperating the agency’s anti-money laundering and combating with the foreign countries about offence of human trafficking; and (5) the problem of law enforcement of money laundering law to human trafficking where the offender was a large organization. A researcher had proposed that to effectively enforce the law, Thailand should apply the form of work as Task Force to intergrate law enforcement organization relating to human trafficking law and money laundering law; as an exmple, the case study of the State of Texas that establishment the Texas Human Trafficking Provention Task Force. Government officicals must strict to prosecute an offender with all provision of law. As well as provide a coporation for the prosecution of human trafficking in the manner of a crime that is a transnational organized crime according to Act on Against Involved in Transnational Organized Crime B.E.2556.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.721-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการค้ามนุษย์ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย
dc.subjectการฟอกเงิน -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับ -- ไทย
dc.subjectHuman trafficking -- Law and legislation -- Thailand
dc.subjectMoney laundering -- Law and legislation -- Thailand
dc.titleปัญหาการบังคับใช้พระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน พ.ศ. 2542 กับผู้กระทำความผิดฐานค้ามนุษย์en_US
dc.title.alternativeLEGAL PROBLEMS OF ENFORCING THE ANTI-MONEY LAUNDERING ACT B.E. 2542 TO HUMAN TRAFFICKKING OFFENDERen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorpareena.lawchula@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.721-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5385956734.pdf2.74 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.