Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43318
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | เกรียงไกร เจริญธนาวัฒน์ | en_US |
dc.contributor.author | ณัฐวุฒิ รัตนนาคินทร์ | en_US |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์ | en_US |
dc.date.accessioned | 2015-06-24T06:37:08Z | |
dc.date.available | 2015-06-24T06:37:08Z | |
dc.date.issued | 2556 | en_US |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43318 | |
dc.description | วิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556 | en_US |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้ศึกษา วิเคราะห์ และเปรียบเทียบเกี่ยวกับการให้อำนาจในการฟ้องคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมืองแก่คณะกรรมการ ป.ป.ช. และอัยการสูงสุด ตามที่รัฐธรรมนูญกำหนดให้องค์กรทั้งสองแห่งสามารถดำเนินคดีดังกล่าวได้ตามหลักการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐและเพื่อประโยชน์สูงสุดในการคุ้มครองสิทธิและเสรีภาพของประชาชน อย่างไรก็ตามยังมีปัญหาว่าการที่บทบัญญัติดังกล่าวให้อำนาจ คณะกรรมการ ป.ป.ช. สามารถฟ้องคดีได้เองนั้นมีความเหมาะสมหรือไม่ จึงควรที่จะศึกษาบทบัญญัติดังกล่าวเป็นอย่างไร เพื่อความเข้าใจที่ถูกต้องและเสนอแนวทางที่เหมาะสมเกี่ยวกับการมีอยู่ของบทบัญญัติ โดยศึกษาและเปรียบเทียบตัวอย่างต่างประเทศที่มีการพัฒนาการตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐแล้ว ผลการวิจัยพบว่า การกระทำของรัฐต้องกระทำการผ่านบุคคลธรรมดาซึ่งเป็นตัวแทนของรัฐ ซึ่งอาจจะมีการกระทำที่นอกเหนือจากขอบเขต เงื่อนไข หรือกฎเกณฑ์ที่กฎหมายได้กำหนดไว้ โดยมีเจตนาทุจริตหรือมีเหตุปัจจัยภายนอกอื่น ๆ ที่ไม่เป็นไปตามวัตถุประสงค์ของกฎหมายเพื่อเอื้ออำนวยผลประโยชน์ต่างๆเพื่อพวกพ้องของตน โดยประเทศไทยอำนาจฟ้องคดีของอัยการสูงสุดและคณะกรรมการ ป.ป.ช. จะมีลักษณะตรวจสอบอำนาจซึ่งกันและกัน (Check and balance) ตลอดเวลา ตามพระราชบัญญัติว่าประกอบรัฐธรรมนูญว่าด้วยวิธีพิจารณาคดีอาญาของผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง พ.ศ. 2542 มาตรา 10 เป็นไปตามหลักการของแนวคิดรัฐธรรมนูญนิยม นอกจากนี้ในการดำเนินคดีชั้นศาล ไม่ว่าจะเป็นอัยการสูงสุด หรือคณะกรรมการ ป.ป.ช. เป็นโจทก์ฟ้องเองต่างต้องถูกตรวจสอบจากองค์กรศาลเช่นกัน ดังนั้นในกรณีที่สำนวนคดีของโจทก์มีข้อบกพร่องไม่สมบูรณ์อาจถูกองค์กรศาลยกฟ้องก็ได้ เพื่อประโยชน์สูงสุดแก่ประชาชน | en_US |
dc.description.abstractalternative | This thesis is to study, analyze and compare with the prosecution power of the Person Holding Political Positions to the national anti-corruption commission (NACC) and the Attorney General. As a constitution, it specifies that both organizations can sue as the inspection of the exercise of State power to give the maximum benefit for the protection of the civil right and liberty. However, the problem that such a regulation authorizing NACC to prosecute their own, it is appropriate or not. It is therefore important to study how such organization. To understand the correct and appropriate guidelines on the existing organization, it should be studied and compared different samples with the development, validation and use of state power. The results showed that the State actions must be done through the natural person who is a state representative. This could be done in addition to boundary, conditions or rules, as defined by law, with bad faith or other external factors that are illegal for the purposes of the benefits to their cronies. In Thailand, the prosecution of Attorney General and the NACC will always check and balance each other as Organic Act on Criminal Procedure for Persons Holding Political Positions B.E. 2542, section 10 is based on the principle of Constitutionalism ideas. Moreover, in the court proceeding, no matter whether the Attorney General or NACC is the plaintiff itself, the organization must be reviewed by the courts as well. Therefore, in the case that reports or documents are not completed, Court may order dismissal to give the maximum benefit to the people. | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2013.725 | - |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | รัฐธรรมนูญ -- ไทย | |
dc.subject | องค์กรอิสระ -- ไทย | |
dc.subject | Constitutions -- Thailand | |
dc.title | อำนาจในการฟ้องคดีของคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) ตามมาตรา 272 แห่งรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550 | en_US |
dc.title.alternative | THE NATIONAL ANTI-CORRUPTION COMMISSION'S PROSECUTION POWER AS THE SECTION 272 OF CONSTITUTION B.E. 2550 | en_US |
dc.type | Thesis | en_US |
dc.degree.name | นิติศาสตรมหาบัณฑิต | en_US |
dc.degree.level | ปริญญาโท | en_US |
dc.degree.discipline | นิติศาสตร์ | en_US |
dc.degree.grantor | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.email.advisor | tham38@hotmail.com | en_US |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2013.725 | - |
Appears in Collections: | Law - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5385981334.pdf | 2.97 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.