Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4338
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | Pakpachong Vadhanasindhu | - |
dc.contributor.advisor | Swierczek, Fredric William | - |
dc.contributor.author | Kajornvut Namsirikul | - |
dc.contributor.other | Chulalongkorn University. Faculty of Commerce and Accountancy | - |
dc.date.accessioned | 2007-10-10T04:39:33Z | - |
dc.date.available | 2007-10-10T04:39:33Z | - |
dc.date.issued | 2000 | - |
dc.identifier.isbn | 9741303157 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4338 | - |
dc.description | Thesis (D.B.A.)--Chulalongkorn University, 2000 | en |
dc.description.abstract | The arrangement of international joint ventures (IJVs) between firms is becoming an increasingly prevalent way for firms to acquire and maintain competitive advantage across the nations. While existing research on IJVs focuses primarily on the ex ante structuring of inter-organizational relationships, this study departs from that by taking a behavioral approach to understanding the ex post maintenance of cross border partnerships. This study employed the cross sectional design which was the most predominant design in the social sciences. A questionnaire survey has been responded by using 88 executives in Thai-Japanese JV, 33 executives in Thai-American JV and 32 executives in Thai-European JV. Data Analysis comprised of reliability test, factor analysis, correlation analysis, multivariate analysis of variance (MANOVA), multivariate and univariate multiple regression analysis. A theoretical framework is developed by hypothesizing that compatibility characteristics, cooperation attributes, communication behaviors, and conflict resolution styles are related to joint venture (JV) performance satisfaction. The perceptions of Thai-Japanese JV, Thai-American JV and Thai-European JV executives of the importance of these behavioral characteristics were measured. Differences in perceptions were found. The hypotheses concerning the relationship between compatibility characteristics, cooperation attributes, communication behaviors, conflict resolution styles and IJV performance satisfaction are then empirically tested. The findings indicate that the primary behavioral characteristics of IJV performance satisfaction are: compatibility characteristics of objectives congruence and mutual trust; cooperation attributes of coordination, commitment, and interdependence; communication behaviors of quality, participation and information sharing; and the conflict resolution styles of collaborating and compromising. The results provide support for objectives congruence, mutualtrust and interdependence, and partial support for coordination, commitment, communication quality, participation, information sharing and collaborating and compromising conflict resolution. Results also offer insight into how to better manage these relationships to ensure success. Additional findings are the four motives for IJV formation. Strategic behavior, organizational knowledge and learning, resource dependence and transaction cost are the most respectively mentioned motives. Differences in importance of motives were found among Thai-Japanese JV, Thai-American JV and Thai-European JV executives. | en |
dc.description.abstractalternative | การจัดตั้งกิจการร่วมทุนระหว่างประเทศของบริษัทต่างๆ กำลังเป็นที่แพร่หลายเป็นอย่างมาก เพื่อที่บริษัทจะได้มาและรักษาไว้ซึ่งความได้เปรียบ ในการแข่งขันในตลาดโลก ขณะที่ผลงานวิจัยในอดีตของกิจการร่วมทุนระหว่างประเทศส่วนใหญ่ จะมุ่งความสนใจไปที่โครงสร้างก่อนความสัมพันธ์ ระหว่างองค์กรร่วมทุนจะเกิดขึ้น การวิจัยนี้แตกต่างไปจากเดิมโดยจะศึกษาในทางพฤติกรรม เพื่อที่จะเข้าใจถึงการรักษาความสัมพันธ์ หลังจากองค์กรร่วมทุนได้เกิดขึ้น การวิจัยนี้ได้เก็บข้อมูลแบบตัดขวาง (Cross Sectional Design) การสำรวจข้อมูลได้รับความร่วมมือจากผู้บริหาร ในกิจการร่วมทุนระหว่างไทยกับญี่ปุ่นจำนวน 88 ราย ผู้บริหารในกิจการร่วมทุนระหว่างไทยกับสหรัฐอเมริกาจำนวน 33 ราย และผู้บริหารในกิจการร่วมทุนระหว่างไทยกับกลุ่มยุโรปจำนวน 32 รายในการตอบแบบสอบถาม การวิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย การทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability Test) การวิเคราะห์ตัวประกอบ (Factor Analysis) การวิเคราะห์สหสัมพันธ์ (Correlation Analysis) เทคนิคการวิเคราะห์ความแปรปรวน (Multivariate Analysis of Variance) และการวิเคราะห์ความถดถอยเชิงพหุสำหรับตัวแปรหลายตัวกับหนึ่งตัว (Multivariate and Univariate Multiple Regression) ตัวแบบการศึกษาทางทฤษฎีได้ถูกพัฒนาขึ้นโดยมีข้อสมมติฐานที่ว่า ลักษณะของการเข้ากันได้ คุณสมบัติของการร่วมมือกันพฤติกรรมการติดต่อสื่อสารกัน และลักษณะวิธีการแก้ปัญหาความขัดแย้ง มีความสัมพันธ์กับความพึงพอใจในผลการดำเนินงานของกิจการร่วมทุน การวิจัยนี้ได้มีการสำรวจความเห็นของผู้บริหารในกิจการร่วมทุน ระหว่างไทยกับญี่ปุ่น ไทยกับสหรัฐอเมริกา และไทยกับกลุ่มยุโรป ที่เกี่ยวกับความสำคัญของลักษณะทางพฤติกรรมเหล่านี้ ซึ่งผลการศึกษาปรากฏว่า มีความแตกต่างกันในความเห็นที่เกี่ยวกับ ความสำคัญของลักษณะทางพฤติกรรมดังกล่าว สมมติฐานในการวิจัยนี้คือ ลักษณะของการเข้ากันได้ คุณสมบัติของการร่วมมือกัน พฤติกรรมการติดต่อสื่อสารกัน และลักษณะวิธีการแก้ปัญหาความขัดแย้ง มีผลต่อความพึงพอใจในการดำเนินงานของกิจการร่วมทุน สมมติฐานนี้ได้ถูกทดสอบและผลการทดสอบแสดงให้เห็นว่า ลักษณะทางพฤติกรรมที่สำคัญที่มีผลต่อความพึงพอใจ ในการดำเนินงานของกิจการร่วมทุนระหว่างประเทศได้แก่ ลักษณะของการเข้ากันได้ของจุดมุ่งหมายที่เหมาะสมกัน และความไว้วางใจซึ่งกันและกัน คุณสมบัติของการร่วมมือกันในแง่ของการประสานงาน ความมุ่งมั่นในการทำงานร่วมกันและการพึ่งพาระหว่างกัน พฤติกรรมการติดต่อสื่อสารกันในแง่ของคุณภาพ การมีส่วนร่วมในการติดต่อสื่อสาร และการแบ่งสรรข้อมูล และลักษณะวิธีการแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยใช้วิธีร่วมมือและวิธีประนีประนอม ผลของการวิจัยนี้สนับสนุน (support) ในสมมติฐานของลักษณะของการเข้ากันได้ของจุดมุ่งหมายที่เหมาะสมกัน ความไว้วางใจซึ่งกันและกัน และการพึ่งพาระหว่างกัน และ ผลของการวิจัยนี้ยังได้สนับสนุนบางส่วน (partial support) สมมติฐานเกี่ยวกับคุณสมบัติของการร่วมมือกันในแง่ของการประสานงาน ความมุ่งมั่นในการทำงานร่วมกัน คุณภาพในการติดต่อสื่อสาร การมีส่วนร่วมในการติดต่อสื่อสาร การแบ่งสรรข้อมูลและลักษณะวิธีการแก้ปัญหาความขัดแย้งโดยใช้วิธีร่วมมือและวิธีประนีประนอม ผลของการวิจัยนี้ยังชี้ให้เห็นถึงความเข้าใจในการที่จะจัดการดูแลรักษาความสัมพันธ์เหล่านี้ให้ดีขึ้น เพื่อที่จะบรรลุถึงความสำเร็จของการร่วมลงทุนระหว่างประเทศสิ่งที่พบเพิ่มเติมในการวิจัยนี้ได้แก่แรงจูงใจทั้งสี่ประการในการก่อตั้งกิจการร่วมทุนระหว่างประเทศ พฤติกรรมในเชิงกลยุทธ ความรู้และการเรียนรู้ในองค์กร การพึ่งพาทรัพยากร และต้นทุนดำเนินธุรกิจได้ถูกระบุตามลำดับว่า เป็นแรงจูงใจที่สำคัญในการก่อตั้งกิจการร่วมทุนระหว่างประเทศ ผลปรากฎว่ามีความแตกต่างในอันดับของแรงจูงใจในกลุ่มผู้บริหารของกิจการร่วมทุนระหว่างไทยกับญี่ปุ่น, ไทยกับสหรัฐอเมริกา และไทยกับกลุ่มยุโรป | en |
dc.format.extent | 1247522 bytes | - |
dc.format.mimetype | application/pdf | - |
dc.language.iso | en | en |
dc.publisher | Chulalongkorn University | en |
dc.relation.uri | http://doi.org/10.14457/CU.the.2000.175 | - |
dc.rights | Chulalongkorn University | en |
dc.subject | Joint ventures | en |
dc.subject | Behavior | en |
dc.title | Behavioral characteristics of international joint venture performance | en |
dc.title.alternative | ลักษณะทางพฤติกรรมที่มีผลต่อการดำเนินงาน ของกิจการร่วมทุนระหว่างประเทศ | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.degree.name | Doctor of Business Administration | en |
dc.degree.level | Doctoral Degree | en |
dc.degree.discipline | International Business | en |
dc.degree.grantor | Chulalongkorn University | en |
dc.email.advisor | fcompvd@acc.chula.ac.th | - |
dc.email.advisor | No information provided | - |
dc.identifier.DOI | 10.14457/CU.the.2000.175 | - |
Appears in Collections: | Acctn - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Kajornvut.pdf | 1.12 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.