Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43436
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorไตรวัฒน์ วิรยศิริen_US
dc.contributor.advisorกวีไกร ศรีหิรัญen_US
dc.contributor.authorเธียรธาดา หิรัญญะชาติธาดาen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:38:18Z
dc.date.available2015-06-24T06:38:18Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43436
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractปัจจุบันการจำลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ เป็นวิธีหนึ่งที่นิยมใช้ในกระบวนการแก้ปัญหา เนื่องจากสามารถควบคุมสภาพแวดล้อม กำหนดและปรับเปลี่ยนค่าตัวแปรต่าง ๆ ส่งผลให้เห็นผลลัพธ์ที่แตกต่างกันได้ ในการวิจัยนี้ เป็นการศึกษารูปแบบการจัดที่นั่งกับเวลาที่ใช้ในการออกจากโรงภาพยนตร์ในสถานการณ์ปกติของผู้ใช้ โดยวิธีการจำลองสถานการณ์ด้วยคอมพิวเตอร์ ภายใต้มาตรฐานและข้อกำหนดทางกฏหมายอาคารที่เกี่ยวข้องกับโรงภาพยนตร์ที่มีอยู่ในปัจจุบัน การวิจัยนี้ได้เลือกโปรแกรม Pathfinder 2013 เป็นเครื่องมือในการจำลองสถานการณ์ โดยใช้กรณีตัวอย่าง โรงภาพยนตร์ขนาด 340 และ 552 ที่นั่ง และนำมาปรับรูปแบบการจัดที่นั่ง พร้อมปรับเปลี่ยนค่าตัวแปรที่เกี่ยวข้องต่างๆ ประกอบด้วย ขนาดความกว้างทางออก จำนวนทางออก และ ตำแหน่งทางออก ผลจากการวิจัยสามารถสรุปได้ว่า รูปแบบการจัดที่นั่งภายในโรงภาพยนตร์ที่แตกต่างกัน ส่งผลต่อเวลาในการออกจากโรงภาพยนตร์ที่แตกต่างกัน โดยในโรงภาพยนตร์ขนาด 340 ที่นั่ง ใช้เวลาในการออกจากโรงภาพยนตร์มากที่สุด 112.0 วินาที และน้อยที่สุด 39.0 วินาที และในโรงภาพยนตร์ขนาด 552 ที่นั่งใช้เวลาในการออกจากโรงภาพยนตร์มากที่สุด 195.3 วินาที และน้อยที่สุด 54.8 วินาที ส่วนตัวแปรที่ส่งผลต่อเวลาในการออกจากโรงภาพยนตร์ภายใต้รูปแบบการจัดที่นั่งแบบเดียวกันตามลำดับจากมากไปน้อย ได้แก่ จำนวนทางออกภายในโรงภาพยนตร์ ตำแหน่งทางออกภายในโรงภาพยนตร์ และขนาดความกว้างทางออก ตามลำดับen_US
dc.description.abstractalternativeAt present, computer simulation is a popular method in problem-solving processes as it can control the environment, and specify and adjust different variables which lead to different results. This research studied the seating arrangement and exit traffic time in mid-size cinemas under normal circumstances with computer simulation method under the current standards and legal regulations that govern cinemas. The study used the Pathfinder 2013 program as a tool for the simulation with a case study involving 340 and 552 seat cinemas whose seating was rearranged. The related variables which were the exit width, the number of the exits and the position of the exits were adjusted. The result can conclude that the different seating arrangement of the mid-size cinemas led to a different exit time. In the 340 seat cinema case, the maximum exit time was 112.0 seconds, and the minimum was 39.0 seconds. For the 552 seat cinema, the maximum exit time was 195.3 seconds, and the minimum was 54.8 seconds. The variables affecting the cinema exit time ranged by importance according to the numbers of the exits in the cinemas, the position of the exits, and the width of the exits.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.900-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรงภาพยนตร์ -- การจำลองระบบ
dc.subjectMotion picture theaters -- Simulation methods
dc.titleการศึกษารูปแบบการจัดที่นั่งกับการออกจากอาคารโรงภาพยนตร์ขนาดกลางในสถานการณ์ปกติโดยใช้วิธีการจำลองสถานการณ์ด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์en_US
dc.title.alternativeA STUDY OF SEATING ARRANGMENT AND EXIT TRAFFIC FLOW IN MID-SIZE CINEMAS WITH NORMAL CIRCUMSTANCE USING COMPUTER SIMULATIONen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสถาปัตยกรรมen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorvtraiwat@chula.ac.then_US
dc.email.advisorKaweekrai.S@Chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.900-
Appears in Collections:Arch - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5573337425.pdf5.27 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.