Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43467
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorชัยชนะ นิ่มนวลen_US
dc.contributor.authorจันทรรัตน์ เลิศทองไทยen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:38:37Z
dc.date.available2015-06-24T06:38:37Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43467
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งเป็นการวิจัยเชิงพรรณนาภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะซึมเศร้าและคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยปวดหลังเรื้อรังที่เข้ารับการรักษาแผนกออร์โธปิดิกส์และแผนกเวชศาสตร์ฟื้นฟูในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ จำนวน 290 คน เครื่องมือที่ใช้มี 4 ส่วน ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไปของผู้ป่วย แบบสอบถามด้านปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับสุขภาพและอาการปวดหลัง แบบประเมินภาวะซึมเศร้า Patient Health Questionnaire – 9 (PHQ9) และแบบสอบถามคุณภาพชีวิตขององค์การอนามัยโลกชุดย่อฉบับภาษาไทย (World Health Organization Quality of life Brief – Thai, WHOQOL-BREF-THAI) ที่มีการปรับจำนวนข้อให้เหมาะสมกับกลุ่มตัวอย่าง วิเคราะห์สถิติด้วยสถิติเชิงพรรณนา, Chi-Square Test, Independent – Samples T Test, One – Way ANOVA และ Multiple Regression Analysis ผลการศึกษาพบว่าผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังไม่มีภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 91.0 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าคือ สถานภาพทางเศรษฐกิจไม่พอใช้ต้องหยิบยืมหรือเป็นหนี้สิน มีคะแนนความปวดระดับสูง และจำนวนด้านที่ผู้ป่วยมีการสูญเสียหน้าที่ต่อตนเอง และผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตโดยรวมอยู่ในเกณฑ์ปานกลาง ร้อยละ 93.4 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคุณภาพชีวิตโดยรวมคือ เพศหญิงมีคุณภาพชีวิตต่ำกว่าเพศชาย สถานภาพเศรษฐกิจไม่พอใช้ต้องหยิบยืมหรือเป็นหนี้มีคุณภาพชีวิตต่ำกว่าสถานภาพเศรษฐกิจอื่นๆ มีโรคประจำตัวมีคุณภาพชีวิตต่ำกว่าไม่มีโรคประจำตัว ระดับความปวด 6-10 มีคุณภาพชีวิตต่ำกว่าระดับความปวด 0-5 และสูญเสียหน้าที่ต่อตนเอง 2 ด้านขึ้นไปมีคุณภาพชีวิตต่ำกว่าไม่สูญเสียหน้าที่หรือสูญเสียหน้าที่ 1 ด้านen_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this cross-section descriptive study was to study depression and quality of life in 290 chronic low back pain (LBP) patients of Orthopedic and Physical Medicine and Rehabilitation section at King Chulalongkorn Memorial Hospital. The instruments were demographic data questionnaire, general health and related symptom in low back pain data questionnaire, Patient Health Questionnaire – 9 (PHQ9) and World Health Organization Quality of Life Brief – Thai (WHOQOL-BREF-THAI) with number of items adjusted for the sample. Data were analyzed using descript statistics, Chi-Square Test, Independent – Samples T Test, One – Way ANOVA and Multiple Regression Analysis. The finding showed that most patients had no depression (91.0%). Predictive variables of depression were “lower financial status”; “higher pain score”; and “number of dysfunction”. Most patients had average level of quality of life (93.4%). Predictive variables of quality of life were “being male”; “higher financial status”; “not having underlying disease”; “lower pain score”; and “lower number of dysfunction”.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.935-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectระบบกล้ามเนื้อและโครงกระดูก
dc.subjectปวดหลัง
dc.subjectคุณภาพชีวิต
dc.subjectMusculoskeletal system
dc.subjectBackache
dc.subjectQuality of life
dc.titleภาวะซึมเศร้าและคุณภาพชีวิตในผู้ป่วยปวดหลังส่วนล่างเรื้อรังจากโรคทางระบบกระดูกและกล้ามเนื้อen_US
dc.title.alternativeDEPRESSION AND QUALITY OF LIFE IN CHRONIC LOW BACK PAIN PATIENTS FROM ORTHOPEDIC DISEASEen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorchekov2005@gmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.935-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5574115630.pdf3.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.