Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสืบพงศ์ ธนสารวิมลen_US
dc.contributor.advisorวิโรจน์ ศรีอุฬารพงศ์en_US
dc.contributor.authorวฤทธิ์ ลอยวิรัตน์en_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:38:50Z
dc.date.available2015-06-24T06:38:50Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43494
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractที่มา โรคมะเร็งท่อน้ำดีเป็นโรคมะเร็งที่พบมากในภาคตะวันออกเฉียงเหนือประเทศไทยซึ่งมีความ สัมพันธ์กับการติดเชื้อพยาธิใบไม้ในตับโอพิสธอร์คิสวิเวอรินี่ ไมโครอาร์เอ็นเอ 200c ซึ่งเป็นไมโคร อาร์เอ็นเอที่ควบคุมการทำงานของอิปิธีเลียวมีเซนคัยมอลทรานซิชัน ก่อให้เกิดมะเร็งหลายชนิด และบอกการพยากรณ์โรครวมทั้งมะเร็งท่อน้ำดี ซึ่งการศึกษาก่อนหน้านี้พบว่ามีความแตกต่างของการ แสดงออกของไมโครอาร์เอ็นเอชนิดนี้ วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความแตกต่างของไมโครอาร์เอ็นเอ 200c ของผู้ป่วยโรคมะเร็งท่อน้ำดีที่มี ภูมิลำเนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือเปรียบเทียบกับ ภาคอื่นๆในประเทศไทยและ ความสัมพันธ์กับ ลักษณะทางคลินิค วิธีการศึกษา ผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ที่มีชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยา เก็บข้อมูลทั่วไปหลังจากนั้นนำชิ้นเนื้อพาราฟินมาสกัดไมโครอาร์เอ็นเอ โดยใช้ชุดสกัด miRNeasy FFPE Kit, QIAGEN, Germany และวัดปริมาณอาร์เอ็นเอที่ได้โดยเครื่อง NanoDrop 2000C, Thermo Scientific, USA จากนั้นสังเคราะห์ cDNA และวัดปริมาณโดยใช้ชุด taqMan® MicroRNA Assay, Applied biosystems, USA ด้วยเครื่อง real-time PCR รุ่น 7500 Fast Real-Time PCR System, Applied biosystems, USA โดยการเปรียบเทียบการแสดงออกของยีนไมโครอาร์เอ็นเอ 200c กับ ยู6 แล้วนำมาคำนวณหาค่า 2-ΔΔCT โดยใช้ค่าคัทออฟที่ 2.0. ผลการศึกษา ผู้ป่วยมะเร็งท่อน้ำดีที่เข้ารับการรักษาที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ที่มีชิ้นเนื้อทางพยาธิวิทยา 31 ราย มีภูมิลำเนาอยู่ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 20 ราย ภาคอื่นๆ 11 ราย ไม่พบความแตกต่างของ ลักษณะทางคลินิครวมทั้งการแสดงออกของไมโครอาร์เอ็นเอ 200c โดยมีค่าเฉลี่ยของ ΔCT เท่ากับ 1.7989 (± 2.9148) และ 1.5876 (± 3.2131) ตามลำดับ, p = 0.418 มีความชุกของการเพิ่มการ แสดงออกของไมโครอาร์เอ็นเอ 200c ร้อยละ 22.5 และเมื่อแยกระหว่างผู้ป่วยที่มีการแสดงออกของ ไมโครอาร์เอ็นเอเพิ่มขึ้นหรือลดลงก็ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ มีค่ามัธยฐานการรอดชีวิตที่ 13.6 เดือน (4.3 – 22.9) และ 22.6 เดือน (0.9 – 44.4) ตามลำดับ, p = 0.923 สรุปผลการศึกษา ไม่พบความแตกต่างของการแสดงออกของไมโครอาร์เอ็นเอ 200c ในผู้ป่วยมะเร็ง ท่อน้ำดีของประเทศไทย อาจต้องอาศัยการศึกษาในประชากรที่มากขึ้น ต่อไปen_US
dc.description.abstractalternativeBackground: Cholangiocarcinoma (CCA) is a common cancer in Thailand, where it was uniquely associated with Opisthorchis viverrini (OV) infection. MiRNA 200c is a miRNA involving in carcinogenesis especially epithelial mesenchymal transition. Its prognostic value has been demonstrated in several cancers. Previous study reported the aberration of miR-200c expression in CCA. Objective: The aim of this study is to explore miR-200c expression and its clinical correlation in Thai CCA patients. Patients and Methods: Patient who was diagnosed cholangiocarcinoma treated in King Chulalongkorn Memorial Hospital were collected. After, RNA extraction using miRNeasy FFPE kit, quantitative reverse-transcription polymerase chain reactions (RT-qPCR) using Taqman MicroRNA Assay were performed to quantitate the miRNA-200c expression. Using the 2_ΔΔCt of 2.0 as the cut off for miR-200c overexpression, we analysed the clinical correlation by chi-square test or Fisher exact test and Kaplan Meier method. Results: 31 archival formalin-fixed paraffin embedded tissues (FFPE) CCA in King Chulalongkorn Memorial Hospital were collected. 20 were in northeastern region,11 were in other regions. Baseline characteristics were balanced. Average ΔCT in northeastern region group and other regions group was 1.7989 (± 2.9148) and 1.5876 (± 3.2131) respectively, p = 0.418. Prevalence of microRNA 200c overexpression was 22.5%. No difeferrence in overall survival between both lower and overexpression of microRNA 200c, median overall survival was 13.6 months (4.3 – 22.9) and 22.6 months (0.9 – 44.4), p = 0.923. Conclusion : There were no difference of miR-200c expression or as the predictive factor in our study. Further study of miR-200c expression in a larger CCA population with functional validation is warranted.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.974-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectท่อน้ำดี -- ความผิดปกติ
dc.subjectพยาธิใบไม้
dc.subjectพยาธิวิทยา
dc.subjectBile ducts -- Abnormalities
dc.subjectTrematoda
dc.subjectPathology
dc.titleการศึกษาการแสดงออกของไมโครอาร์เอนเอ 200c ในโรคมะเร็งท่อน้ำดีเปรียบเทียบกัน ระหว่างผู้ป่วยที่มีภูมิลำเนาในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยและผู้ป่วยที่มีภูมิลำเนาในภาคอื่นๆ นอกจากภาคเหนือและ ตะวันออกเฉียงเหนือen_US
dc.title.alternativeComparative study of microRNA-200c expression between cholangiocarcinoma from Thai native in northeastern regions and cholangiocarcinoma from Thai patients native in outside the north and northeasten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorsurbpong@yahoo.comen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.974-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5574158630.pdf2.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.