Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43521
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorธีระพงษ์ ตัณฑวิเชียรen_US
dc.contributor.authorร่มเย็น ศักดิ์ทองจีนen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:39:03Z
dc.date.available2015-06-24T06:39:03Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43521
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractจากปัญหาการติดเชื้อแบคทีเรียเอนเทอโรแบคทีเรียซีอีดื้อยาจากชุมชนที่เพิ่มมากขึ้นในปัจจุบัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งในผู้ป่วยที่มีปัจจัยเสี่ยงได้แก่ ผู้ป่วยที่มีอายุ 65 ปี ผู้ป่วยที่อยู่อาศัยระยะยาวในโรงพยาบาลมากกว่า 3 เดือน ผู้ป่วยที่เพิ่งเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลในช่วง 3 เดือน ผู้ป่วยที่เพิ่งเข้ารับการรักษาโดยการผ่าตัดในช่วง 6 เดือน ผู้ป่วยที่คาสายสวนปัสสาวะไว้เกิน 48 ชั่วโมง และผู้ป่วยที่ได้รับยาปฏิชีวนะมาก่อนในช่วง 3 เดือน ทำให้มีการนำยา piperacillin/tazobactam มาใช้แทนยากลุ่ม carbapenems ในการรักษาแบบ empirical therapy ในผู้ป่วยกลุ่มนี้มากขึ้น แต่ยังไม่มีการศึกษาใดที่บ่งชี้ชัดเจนว่า แพทย์สามารถใช้ยา piperacillin/tazobactam ในผู้ป่วยกลุ่มนี้ได้อย่างมั่นใจ ดังนั้นผู้วิจัยจึงได้เก็บรวบรวมข้อมูลแบบไปข้างหน้าในผู้ป่วยที่ได้รับการวินิจฉัยโรคกรวยไตอักเสบเฉียบพลัน หรือโรคท่อน้ำดีอักเสบเฉียบพลันที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อดื้อยาดังกล่าว เพื่อศึกษาผลการตอบสนองต่อการรักษาด้วยยา piperacillin/tazobactam กับยากลุ่ม carbapenems ที่ 72 – 96 ชั่วโมงและเมื่อสิ้นสุดการรักษา จากการศึกษาในผู้ป่วยทั้งหมด 66 คน พบว่าอัตราความล้มเหลวในการรักษาที่ 72-96 ชั่วโมง ของผู้ป่วยที่ได้รับยา piperacillin/tazobactam เท่ากับร้อยละ 35.7 (5 ใน 14 คน) และผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่ม carbapenems เท่ากับร้อยละ 25 (13 ใน 52 คน) โดยพบว่าอัตราความล้มเหลวสูงมากอย่างมีนัยสำคัญทางคลินิกในกลุ่มผู้ป่วยโรคกรวยไตอักเสบเฉียบพลันและผู้ป่วยที่มีการติดเชื้อในกระแสเลือดเท่ากับ ร้อยละ 40 และ 50 ตามลำดับ และเมื่อสิ้นสุดการรักษา พบว่าผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่ม carbapenems มีโอกาสถูกจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลโดยปกติไม่มีภาวะแทรกซ้อนมากกว่าผู้ป่วยที่ได้รับยา piperacillin/tazobactam 2.623 เท่า (p=0.007; 95%CI 0.097-0.753) คิดเป็นเท่ากับร้อยละ 69.23 (36 ใน 52 คน) และร้อยละ 35.7 (5 ใน 14 คน) ตามลำดับ โดยสรุปยา piperacillin/tazobactam ให้ผลการรักษาแบบ empirical therapy ในผู้ป่วยโรคกรวยไตอักเสบเฉียบพลันหรือผู้ป่วยที่ติดเชื้อในกระแสเลือดที่มีปัจจัยเสี่ยงต่อการติดเชื้อ ESBL-producing Enterobacteriaceae ด้อยกว่ายากลุ่ม carbapenemsen_US
dc.description.abstractalternativeThe increasing of community acquired ESBL-producing Enterobacteriaceae infection in current especially in patients with risk factors. The risk factors include aged over than 65 years , long-term resident in the hospital for more than 3 months, admitted to hospital in the last 3 months, surgery in the last 6 months, retained urinary catheter more than 48 hours , and received antibiotics during the 3 months. The piperacillin / tazobactam had been used instead of the carbapenems for empirical therapy in these patients. But no study assured that doctors can use piperacillin / tazobactam in these conditions with confidence. Therefore, the researchers have collected data prospectively in patients who have been diagnosed with acute pyelonephritis or acute cholangitis with any risk factors above. To study the response to therapy of piperacillin / tazobactam compared with carbapenems at 72-96 hours and at the end of treatment. The results of 66 patients. The treatment failure rate at 72-96 hours of patients receiving piperacillin / tazobactam was 35.7 % (5 of 14 patients) and carbapenems was 25% (13 of 52 patients). The failure rate is very high with clinical significantly in the patients with acute pyelonephritis and septicemia, 40 and 50 %, respectively. At the end of treatment the patients have been discharged from the hospital normally with improvement and no complications by the carbapenems treatment was 69.23% ( 36 of 52 ) and the piperacillin / tazobactam was 35.7% ( 5 of 14 patients), odd ratios 2.623 (p = 0.007; 95% CI 0.097-0.753). In conclusion, the piperacillin / tazobactam as empirical therapy of acute pyelonephritis or septicemia in patients with risk factors of ESBL-producing Enterobacteriaceae resulting poorer outcome than carbapenems.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.991-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectท่อน้ำดี -- ความผิดปกติ
dc.subjectการติดเชื้อ
dc.subjectBile ducts -- Abnormalities
dc.subjectInfection
dc.titleการศึกษาผลการรักษาโรคกรวยไตอักเสบเฉียบพลัน และโรคท่อน้ำดีอักเสบเฉียบพลัน จากเชื้อแบคทีเรียเอนเทอโรแบคทีเรียซีอีที่สร้างเอนไซม์เบต้าแลกแทมเมสชนิดมีฤทธิ์กว้าง ด้วยยาปฏิชีวนะปิปเปอราซิลิน ทาโซแบคแทมเปรียบเทียบกับยากลุ่มคาร์บาพีเน็มen_US
dc.title.alternativeTHE CLINICAL OUTCOME OF TREATING ACUTE PYELONEPHRITIS AND ACUTE CHOLANGITIS CAUSED BY EXTENDED-SPECTRUM BETA-LACTAMASES-PRODUCING ENTEROBACTERIACEAE BY PIPERACILLIN/TAZOBACTAM COMPARE WITH CARBAPENEMSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineอายุรศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorterapong_tantawichien@hotmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.991-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5574216330.pdf3.05 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.