Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43523
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorอลิสา วัชรสินธุen_US
dc.contributor.authorนงคราญ สมบูรณ์มีen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะแพทยศาสตร์en_US
dc.coverage.spatialไทย
dc.coverage.spatialกรุงเทพฯ
dc.date.accessioned2015-06-24T06:39:04Z
dc.date.available2015-06-24T06:39:04Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43523
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงเปรียบเทียบ ณ ช่วงเวลาใดเวลาหนึ่ง เพื่อศึกษาความแตกต่างของพัฒนาการของเด็กในกรุงเทพฯ กับ เด็กในภาคเหนือตอนบน และทราบถึงปัจจัยที่ส่งผลต่อพัฒนาการของเด็กในกรุงเทพฯ กับ เด็กในภาคเหนือตอนบน เก็บข้อมูลจากกลุ่มตัวอย่างเด็กทั้งหมด 260 คน แยกเป็นเด็กในกรุงเทพฯ 130 คน ในลำพูน 130 คน โดยใช้ แบบคัดกรอง หมายถึง แบบคัดกรองพัฒนาการเด็ก อายุแรกเกิด – 5 ปี ฉบับกรมสุขภาพจิต (70 ข้อ) ของสถาบันพัฒนาการเด็กราชนครินทร์ กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข (Thai Development Skill Inventory for Children From Birth to Five Year : TDSI) และแบบแบบสอบถามซึ่งประกอบด้วย ข้อมูล 1)ด้านตัวเด็ก 2)ด้านครอบครัว 3)ด้านบิดา มารดา หรือผู้เลี้ยงดูเด็ก ในการให้ผู้ปกครองเด็กตอบ โดยใช้การทดสอบการแจกแจงแบบ Hypergeomatric Distribution ด้วย Exact test ในการทดสอบความแตกต่างของข้อมูลทั่วไป และเปรียบเทียบความแตกต่างของพัฒนาการเด็กของทั้งสองที่ และตรวจสอบปัจจัยที่มีผลต่อพัฒนาการเด็กด้านต่างๆด้วยสถิติ Fisher’s Exact Test และ Chi-Square ผลการศึกษาพบว่าพบว่าไม่มีความแตกต่างของพัฒนาการ ทั้ง 5 ด้าน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพัฒนาการของเด็กด้านต่างๆ ได้แก่ พัฒนาการด้านการใช้กล้ามเนื้อมัดเล็กและสติปัญญา (FM) ในกรุงเทพฯ พบว่ามีปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กันคือ บุคคลที่เด็กอาศัยอยู่ด้วย เด็กที่อาศัยอยู่กับทั้งบิดาและมารดา มีพัฒนาการที่สมวัยมากกว่าเด็กที่อาศัยอยู่กับบิดาคนเดียว มารดาคนเดียว ญาติ หรืออื่นๆ (p<0.001) เด็กที่อยู่ในครอบครัวที่บิดมารดาที่มีสถานภาพสมรุสกัน มีพัฒนาการที่สมวัยมากกว่าเด็กที่อยู่ในครอบครัวที่มีบิดามารดาสถานภาพ หย่าร้าง แยกกันอยู่และเป็นหม้ายย (p=0.005) ส่วนพัฒนาการด้านการเข้าใจภาษา (RL) ในกรุงเทพฯ พบว่ามีปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กัน คือ เด็กที่เล่นมือถือ เกมส์เฉลี่ยวันละ มากกว่า 3 ชั่วโมง มีผลต่อพัฒนาการมากกว่าเด็กที่เล่นน้อยกว่า 3 ชั่วโมง (p=0.025) พัฒนาการด้านการใช้ใจภาษา (EL) ในลำพูน พบว่ามีปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กัน คือ การสูบบุหรี่ของมารดาก่อนการตั้งครรภ์ (p=0.034) และการสูบบุหรี่ระหว่างเลี่ยงดูเด็ก (p=0.025) และพัฒนาการด้านการช่วยเหลือตนเองและสังคม (PS) ในลำพูนพบว่า มีปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กัน คือ การสูบบุหรี่ของมารดาระหว่างการตั้งครรภ์ (p=0.038) และการดื่มแอลกอฮอล์ของมารดาระหว่างการตังครรภ์ (p=0.031)en_US
dc.description.abstractalternativeThis research is Comparative Studies research. The objective is to study the difference between child development, ages 3-5 Years in Bangkok and North Regions and related factors of child development. Data were collected from 260 children,130 children from Bangkok and 130 children from Lamphun, aged 3-5 years using TDSI (Thai developmental skills inventory) and questionnaires. The descriptive statistics used are Hypergeomatric Distribution, Chi-square and Fisher’s Exact Test This study showed no differences in child development between both regions. For Fine motor development, in Bangkok factors influencing child development are children who living with both parents and parent’s marital status (p<0.001) and children in nuclear family (p =0.001)while in Lamphun a factor influencing child development is children living with parent's material status (p =0.005) For Receptive Language development, In bangkok a factors influencing child developemt is children plating mobile games more than 3 hours per day (p =0.025) For Expressive language developemnt in Lamphuan factors influencing child developement are maternal before pregnancy and during parenting(p =0.0034 and p =0.0025).For Personal and Social development in Lamphuan factors influencing child developemnt are maternal smoking and drinking during pregnancy ( p =0.038 and p =0.031).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.965-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพัฒนาการของเด็ก -- ไทย -- กรุงเทพฯ
dc.subjectพัฒนาการของเด็ก -- ไทย (ภาคเหนือ)
dc.subjectChild development -- Thailand -- Bangkok
dc.titleความแตกต่างของพัฒนาการของเด็กอายุ 3-5 ปี ระหว่างเด็กในกรุงเทพ กับ เด็กในภาคเหนือตอนบนen_US
dc.title.alternativeDIFFERENCE BETWEEN CHILD DEVELOPMENT,AGED 3-5 YEARS IN BANGKOK AND NORTH REGIONSen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineสุขภาพจิตen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisoralisa_wacharasindhu@hotmail.comen_US
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.965-
Appears in Collections:Med - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5574354230.pdf7.57 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.