Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43910
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorบัณฑิต เอื้ออาภรณ์en_US
dc.contributor.advisorสุรชัย ชัยทัศนีย์en_US
dc.contributor.authorอนุชา เล็กเครือสุวรรณen_US
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์en_US
dc.date.accessioned2015-06-24T06:45:47Z
dc.date.available2015-06-24T06:45:47Z
dc.date.issued2556en_US
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/43910
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2556en_US
dc.description.abstractในปัจจุบันการใช้พลังงานไฟฟ้าของประเทศไทยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างมาก โดยแหล่งพลังงานหลักที่ใช้ในการผลิตไฟฟ้า ได้แก่ น้ำมัน ก๊าซธรรมชาติ และถ่านหิน ซึ่งเป็นแหล่งพลังงานที่ใช้แล้วหมดไป อีกทั้งยังก่อให้เกิดปัญหาด้านสิ่งแวดล้อม ทำให้มีการนำพลังงานหมุนเวียนมาใช้เพิ่มมากขึ้น ประกอบกับตำแหน่งที่ตั้งของประเทศไทยเป็นพื้นที่ที่ได้รับพลังงานแสงอาทิตย์เป็นปริมาณมาก จึงทำให้ระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์เป็นพลังงานหมุนเวียนที่เหมาะสมในการนำมาใช้ผลิตไฟฟ้าในประเทศไทย อย่างไรก็ตาม ระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ไม่สามารถผลิตกำลังไฟฟ้าได้เต็มประสิทธิภาพเนื่องจากผลการบังแสงแดดของวัตถุแวดล้อม ทำให้กำลังไฟฟ้าที่ผลิตได้มีค่าลดลง โดยวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ได้นำเสนอเกี่ยวกับแบบจำลองเซลล์แสงอาทิตย์ การศึกษาผลกระทบการบังแสงแดดที่มีผลต่อระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์และการนำเสนอแนวคิดในการจัดเรียงอาเรย์เซลล์แสงอาทิตย์เพื่อลดผลกระทบจากการบังแสงแดดที่เกิดขึ้นบนระบบผลิตไฟฟ้าจากเซลล์แสงอาทิตย์ ทำให้สามารถได้กำลังไฟฟ้าเพิ่มขึ้นภายใต้เงื่อนไขของการบังแสงแดดที่มีจำนวนโมดูลเซลล์แสงอาทิตย์ที่ถูกบังแสงแดดที่เท่ากันen_US
dc.description.abstractalternativeElectrical power demand of Thailand keeps increasing continuously, resulting in depletion of fossil energy sources, e.g. natural gas and lignite. Combining with environmental issues from fossil energy utilization, renewable energy is used and widely increased. Since Thailand is located in the area with high potential of solar energy, photovoltaic (PV) generation system is a good option for Thailand. However, photovoltaic generation system still cannot perform at maximum potential due to the shading of its surrounding objects, which decrease the overall amount of generated electrical power. This thesis proposes a modeling methodology of photovoltaic module, taking into account shading on photovoltaic generation system with the implementation of photovoltaic array arrangement concept. The proposed arrangement can decrease the impacts of shading, and consequently can increase the generated electrical power even though the number of shaded photovoltaic modules remains the same.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2013.1370-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectพลังงานไฟฟ้า
dc.subjectเซลล์แสงอาทิตย์
dc.subjectElectric power
dc.subjectSolar cells
dc.titleการจัดเรียงอาเรย์เซลล์แสงอาทิตย์แบบปรับตัวได้เพื่อลดผลกระทบของการบังแสงแดดต่อการผลิตไฟฟ้าen_US
dc.title.alternativeADAPTIVE PHOTOVOLTAIC ARRAY CONFIGURATION FOR ALLEVIATING IMPACT OF SHADING ON POWER GENERATIONen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineวิศวกรรมไฟฟ้าen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorBundhit.E@chula.ac.then_US
dc.email.advisorsurachai.c@chula.ac.th
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2013.1370-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
5570445021.pdf12.92 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.