Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44054
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorเพ็ญพักตร์ อุทิศ-
dc.contributor.advisorรัชนีกร เกิดโชค-
dc.contributor.authorกรรณิการ์ เลาประเสริฐสุข-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะพยาบาลศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-07-17T02:20:44Z-
dc.date.available2015-07-17T02:20:44Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44054-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (พย.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองใช้รูปแบบสองกลุ่มวัดผลก่อนและหลังการทดลองโดยมีการสุ่มตัวอย่างเข้ากลุ่ม มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบ 1) ความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้วก่อนและหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดที่เน้นครอบครัว และ 2) ความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้วกลุ่มที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดที่เน้นครอบครัวกับกลุ่มที่ได้รับการพยาบาลตามปกติ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนสอง-ขั้ว ซึ่งเข้ารับการรักษาที่แผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลจิตเวชสระแก้วราชนครินทร์ และมีคุณสมบัติตามเกณฑ์จำนวน 44 คน ได้รับการจับคู่ตามเพศ คะแนนภาวะซึมเศร้าและภาวะคลุ้มคลั่ง และ การใช้ยาทางจิต แล้วสุ่มเข้ากลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม กลุ่มละ 22 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ 1)โปรแกรมการบำบัดที่เน้นครอบครัว 2) แบบประเมินความรุนแรงของอาการ 3) แบบประเมินความรู้เรื่องโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้ว 4) แบบวัดการแสดงออกทางอารมณ์ 5) แบบประเมินอาการซึมเศร้า และ 6) แบบประเมินอาการคลุ้มคลั่ง เครื่องมือทุกชุดผ่านการตรวจสอบความตรงตามเนื้อหาจากผู้ทรงคุณวุฒิ 5 ท่าน เครื่องมือชุดที่ 3 และ 4 มีค่าความเที่ยงคูเดอร์ ริชาร์คสัน (KR-20) เท่ากับ .89 และ .91 ตามลำดับ และเครื่องมือชุดที่ 2, 5 และ 6 มีค่าความเที่ยงอัลฟาของ ครอนบาค เท่ากับ .89, .88 และ .89 ตามลำดับ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือสถิติทดสอบที ผลการวิจัยพบว่า 1.ความรุนแรงของอาการในกลุ่มทดลองภายหลังได้รับโปรแกรมการบำบัดที่เน้น ครอบครัวต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (x=22.63 และ29.13 ตามลำดับ, t = 5.96, p < 0.01) 2.ความรุนแรงของอาการในกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการบำบัดที่เน้นครอบครัว ต่ำกว่ากลุ่มควบคุมที่ได้รับการพยาบาลตามปกติอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 (x=22.63 และ28.09 ตามลำดับ, t = 3.53, p < 0.01)en_US
dc.description.abstractalternativeThe purposes of this quasi-experimental research using pretest-posttest randomized control group design were to compare: 1) symptom severity of patients with bipolar disorder before and after received family-focused treatment, and 2) symptom severity of patients with bipolar disorder between the experimental group who received family-focused treatment and the control group who received regular nursing care. A sample of 44 patients with bipolar disorder who met the inclusion criteria were purposively recruited from out-patient department, Sakaeo Rajnakarindra Psychiatric Hospital. They were matched-pair by gender, depression and mania scores, and psychotropic drugs, and then randomly assigned into either the experimental or the control group, 22 subjects in each group. Research instruments consisted of: 1) the Family-Focused Treatment Program, 2) Brief Bipolar Disorder Symptom Scale, 3) Knowledge on Bipolar disorder test, 4) Expressed Emotion Scale, 5) Montgomer Asberg Depression Rating Scale and 6) Thai Mania Rating Scale. All instruments were verified for content validity by 5 professional experts. The reliability of the 3rd and 4th instruments was reported by KR-20 as of .89 and .91, and the reliability of the 2nd, 5th and 6th instruments was reported by Chronbach Alpha as of .89, .88 and .89 respectively. The t-test was used in data analysis. Major findings were as follows: 1. Symptom severity of the experimental group after received family-focused treatment program was significantly lower than that before (x=22.63, 29.13 respectively, t =5.96, p< .01). 2. Symptom severity of the experimental group received family-focused treatment program was significantly lower than those who received the regular nursing care (x=22.63, 28.09 respectively, t =3.53, p< .01).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.404-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectโรคอารมณ์แปรปรวนen_US
dc.subjectโรคอารมณ์แปรปรวน -- ผู้ป่วย -- การดูแลen_US
dc.subjectManic-depressive illnessen_US
dc.subjectManic-depressive illness -- Patients -- Careen_US
dc.titleผลของโปรแกรมการบำบัดที่เน้นครอบครัวต่อความรุนแรงของอาการในผู้ป่วยโรคอารมณ์แปรปรวนสองขั้วen_US
dc.title.alternativeThe effect of family-focused treatment program on symptom severity of bipolar disorder patientsen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineการพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวชen_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorPenpaktr.U@Chula.ac.th-
dc.email.advisorRatchaneekorn.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.404-
Appears in Collections:Nurse - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
kannika_la.pdf2.55 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.