Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44161
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | กมลกานต์ จีนช้าง | - |
dc.contributor.author | ธนิษฐา แพงวงษ์ | - |
dc.contributor.author | นัทธมน ไกรเวทย์ | - |
dc.contributor.author | ปริณดา วงศ์ศิริขจร | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2015-07-28T04:31:10Z | - |
dc.date.available | 2015-07-28T04:31:10Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.other | Psy 217 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44161 | - |
dc.description | โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556 | en_US |
dc.description | A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้แบ่งเป็น 2 การศึกษา กลุ่มตัวอย่างเป็นนิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ระดับปริญญาตรี จำนวน 164 คน การศึกษาที่ 1 ศึกษาผลของการใช้สารโน้มน้าวใจด้านเดียว และสารโน้มน้าวใจสองด้านต่อการเปลี่ยนเจตคติต่อการออกกำลังกาย ความใส่ใจในสาร และเจตนาที่จะออกกำลังกาย กลุ่มตัวอย่างตอบมาตรวัดเจตคติต่อการออกกำลังกายจากนั้นเว้นระยะเวลา 2 สัปดาห์ อ่านสารโน้มน้าวใจแล้วตอบมาตรวัดเจตคติต่อการออกกำลังกาย มาตรวัดความใส่ใจในสารและมาตรวัดเจตนาที่จะออกกำลังกาย ส่วนการศึกษาที่ 2 ศึกษาผลของการใช้สารโน้มน้าวใจสองด้านที่มีเนื้อหามุ่งเน้นสุขภาพ และมุ่งเน้นรูปลักษณ์ และความมุ่งเน้นของบุคคลด้านสุขภาพ และรูปลักษณ์ต่อการเปลี่ยนเจตคติต่อการออกกำลังกาย กลุ่มตัวอย่างตอบมาตรวัดเจตคติต่อการออกกำลังกาย มาตรวัดความมุ่งเน้นสุขภาพและมาตรวัดความมุ่งเน้นรูปลักษณ์ จากนั้นเว้นระยะเวลา 2 สัปดาห์ อ่านสารโน้มน้าวใจแล้วตอบมาตรวัดเจตคติต่อการออกกำลังกาย มาตรวัดความใส่ใจในสารและมาตรวัดเจตนาที่จะออกกำลังกาย ผลการวิจัยพบว่า 1. การเพิ่มเจตคติทางบวกต่อการออกกำลังกายในสารโน้มน้าวใจด้านเดียวแตกต่างจากสารโน้มน้าวใจสองด้านอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 2. สารโน้มน้าวใจด้านเดียวและสารโน้มน้าวใจสองด้านส่งผลต่อเจตนาที่จะออกกำลังกายแตกต่างกันอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติ 3. สารโน้มน้าวใจสองด้านทำให้บุคคลมีความใส่ใจในสารมากกว่าสารโน้มน้าวใจด้านเดียวอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < .05) 4. ผลปฏิสัมพันธ์ระหว่างประเภทของความมุ่งเน้นของบุคคลและประเภทเนื้อหาของสารไม่มีอิทธิพลร่วมต่อการเพิ่มเจตคติในการออกกำลังกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (สารโน้มน้าวใจสองด้านที่มีเนื้อหามุ่งเน้นตรงกับความมุ่งเน้นของบุคคลไม่มีอิทธิพลต่อการเพิ่มเจตคติในการออกกำลังกายอย่างมีนัยสำคัญทางสถติ) | en_US |
dc.description.abstractalternative | There were two studies in this research. Participants were 164 Chulalongkorn University undergraduate students. The first study aimed to study the effect of one-sided message and two-sided message on attitude toward exercise, attention to the message, and intention to exercise. Firstly, participants completed attitude toward exercise questionnaire. After 2 weeks, they read the message and then completed attitude toward exercise questionnaire, attention to the message scale, and intention to exercise scale. The second study aimed to study the effects of health versus appearance-focused arguments in two-sided message and health versus appearance-focused motivation on attitude toward exercise. Respondents completed attitude toward exercise questionnaire, health-focused scale and appearance-focused scale. Two weeks later, they completed attitude toward exercise questionnaire, attention to the message scale, and intention to exercise scale. The results show that: 1. The effects of one-sided message and two-sided message on attitude toward exercise do not differ significantly. 2. There are no significant difference between one-sided message and two-sided message on increasing intention to exercise. 3. Two-sided message attracts more attention to the messages than one-sided message significantly. 4. There is no interaction between health versus appearance-focused arguments and person’s health versus appearance-focused on increasing attitude toward exercise. (The matching effects between focused arguments and personal focuses do not change attitude toward exercise significantly.) | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | การโน้มน้าวใจ | en_US |
dc.subject | การออกกำลังกาย | en_US |
dc.subject | Persuasion (Psychology) | en_US |
dc.subject | Exercise | en_US |
dc.title | อิทธิพลของสารโน้มน้าวใจที่มีเนื้อหามุ่งเน้นด้านสุขภาพกับมุ่งเน้นด้านรูปลักษณ์ต่อเจตคติในการออกกำลังกาย | en_US |
dc.title.alternative | The effects of health versus appearance-focused arguments on attitude toward exercise | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Psy - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
dhanittha_ph.pdf | 1.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.