Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44165
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor.advisor | สุภลัคน์ ลวดลาย | - |
dc.contributor.author | ณัฐชา อุเทศนันทน์ | - |
dc.contributor.author | ณัฐนิชา กันซัน | - |
dc.contributor.author | พรธิดา ไชยหาญ | - |
dc.contributor.other | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา | - |
dc.date.accessioned | 2015-07-28T04:59:57Z | - |
dc.date.available | 2015-07-28T04:59:57Z | - |
dc.date.issued | 2556 | - |
dc.identifier.other | Psy 208 | - |
dc.identifier.uri | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44165 | - |
dc.description | โครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556 | en_US |
dc.description | A senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013 | en_US |
dc.description.abstract | การวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างรู้สึกทางลบกับการขาดความยับยั้งชั่งใจในการรับประทานโดยมีการตระหนักรู้ในตนเป็นตัวแปรกำกับ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้ คือ นิสิตจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จำนวนทั้งสิ้น 209 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ มาตรวัดการขาดความยับยั้งชั่งใจในการรับประทาน,มาตรวัดการตระหนักรู้ในตน และ มาตรวัดความรู้สึกทางลบ ผลการวิจัยพบว่า 1. ความรู้สึกทางลบไม่สามารถทำนายการขาดความยับยั้งชั่งใจในการรับประทานได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ 2. ความรู้สึกทางลบไม่สามารถทำนายการขาดความยับยั้งชั่งใจในการรับประทาน โดยมีการตระหนักรู้ในตนเป็นตัวแปรกำกับได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ผลการวิเคราะห์ข้อมูลเพิ่มเติม 3. ความรู้สึกทางบวกสามารถทำนายการขาดความยับยั้งชั่งใจในการรับประทาน โดยมีการตระหนักรู้ในตนเป็นตัวแปรกำกับ (β = -.15, p < .05) | en_US |
dc.description.abstractalternative | The purpose of this research was to study relationship between dietary disinhibition and negative affect with self-awareness as moderator. Participants were 209 Chulalongkorn University students. Participants research were asked to complete questionnaires: The dietary disinhibition scale, Negative affect scale and Self-awareness scale. Finding is as follow: 1. Negative affect could not predict dietary disinhibition. 2. Self-awareness could not moderate the relationship between negative affect and dietary disinhibition. Additional analysis found that: 3. Self-awareness significantly moderated the relationship between positive affect and dietary disinhibition. (β = -.15, p < .05) | en_US |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.rights | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย | en_US |
dc.subject | อารมณ์เศร้า | en_US |
dc.subject | ความตระหนัก | en_US |
dc.subject | การรับรู้ตนเอง | en_US |
dc.subject | บริโภคนิสัย | en_US |
dc.subject | โครงงานทางจิตวิทยา | en_US |
dc.subject | Melancholy | en_US |
dc.subject | Awareness | en_US |
dc.subject | Self-perception | en_US |
dc.subject | Food habits | en_US |
dc.title | ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้สึกทางลบกับการขาดความยับยั้งชั่งใจในการรับประทานโดยมีการตระหนักรู้ในตนเป็นตัวแปรกำกับ | en_US |
dc.title.alternative | Self-awareness as moderator of the relationship between negative affect and dietary disinhibition | en_US |
dc.type | Senior Project | en_US |
dc.email.advisor | ไม่มีข้อมูล | - |
Appears in Collections: | Psy - Senior Projects |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
Nutcha_ut.pdf | 828.74 kB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.