Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44169
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสักกพัฒน์ งามเอก-
dc.contributor.authorทวีทรัพย์ เตชะภูริปัญญา-
dc.contributor.authorภาณุพงศ์ ย่อมประเสริฐ-
dc.contributor.authorกุลภัทร ไตรรัตนพันธ์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2015-07-28T07:16:53Z-
dc.date.available2015-07-28T07:16:53Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.otherPsy 215-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44169-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013en_US
dc.description.abstractงานวิจัยชิ้นนี้ใช้กรอบความคิดเชิงการทดลองในรูปแบบเกมแห่งความเชื่อใจ (Trust game) ที่คิดขึ้นโดย Berg และคณะ (1995) มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาวิธีการสร้างความเชื่อใจผ่านการแสดงพฤติกรรม ซึ่งพฤติกรรมในที่นี้คือ การแสดงออกทางสีหน้า และผู้วิจัยได้ทดสอบว่าบุคลิกภาพพร้อมไว้ใจ (Propensity to Trust) ของบุคคลจะส่งผลอย่างไรในปฏิสัมพันธ์ที่มีรูปแบบ ทั้งนี้ผู้วิจัยยังได้ตรวจสอบด้วยว่าการแสดงออกทางสีหน้านั้น แท้ที่จริงแล้วส่งผลต่อความน่าชื่นชอบ (Likability) มากกว่าความเชื่อใจหรือไม่ งานวิจัยนี้มีผู้เข้าร่วมการทดลองเป็นนิสิตระดับปริญญาตรีจำนวน 87 คน ผลการวิจัยอยู่บนพื้นฐานของการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทิศทางโดยมีตัวแปรการแสดงออกทางสีหน้า (สีหน้ายิ้ม, สีหน้าปกติ และกลุ่มควบคุม) ของหน้าม้าที่เป็นตัวแปรต้นตัวที่หนึ่ง และพฤติกรรมการเล่นเกม (น่าเชื่อถือและไม่น่าเชื่อถือ) ของหน้าม้าที่เป็นตัวแปรต้นตัวที่สอง ผู้วิจัยพบว่าตัวแปรต้นทั้งสองไม่มีผลต่อความแปรปรวนของความเชื่อใจเมื่อวัดผลผ่านเกมแห่งความเชื่อใจ อย่างไรก็ตาม พฤติกรรมของหน้าม้าส่งผลต่อความแปรปรวนของความน่าชื่นชอบ และผลจากการวิเคราะห์การวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบล าดับขั้นได้ชี้ให้เห็นว่าบุคลิกภาพพร้อมไว้ใจสามารถทำนายความเชื่อใจในการปฏิสัมพันธ์ได้เพียงในครั้งแรกเท่านั้นen_US
dc.description.abstractalternativeThis study used Trust Game experimental paradigm as proposed by Berg et al. (1995) in an attempt to study how to create trust through behavior, in this case facial expression. We examined how a person’s propensity to trust personality works in repeated interaction. In addition, we also checked if facial expressions actually affect likability instead of trust. The study was done with 87 undergraduates in Chulalongkorn University. Study results were based on two-way ANOVA analysis with facial expression (Smile, Neutral and Control) from a confederate as a first independent variable and the confederate’s behavior (Trust worthy and untrustworthy) as a second independent variable. Both variables did not affect trust as measured from Trust Game. However, the confederate’s behavior has shown to affect likability’s variance. Finally, the result from hierarchical multiple regression analysis indicates that propensity to trust personality can predict trust only during the first interaction.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectความไว้วางใจen_US
dc.subjectความเชื่อถือได้en_US
dc.subjectความแตกต่างทางเพศ (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectความประทับใจครั้งแรก (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectการแสดงออก (จิตวิทยา)en_US
dc.subjectTrusten_US
dc.subjectReliabilityen_US
dc.subjectSex differences (Psychology)en_US
dc.subjectFirst impression (Psychology)en_US
dc.subjectAssertiveness (Psychology)en_US
dc.titleเชื่อใจหรือไม่เชื่อใจ : อิทธิพลของการแสดงออกทางสีหน้าen_US
dc.title.alternativeTo trust or not to trust : the impact of facial expressionen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
taweesub_te.pdf1.28 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.