Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44172
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorณัฏฐารีย์ ศิริวิวัฒน์-
dc.contributor.authorรัตนพรรณ ส่งเสริมสวัสดิ์-
dc.contributor.authorสิริกาญจน์ จิตลดาพร-
dc.contributor.authorอารดี เจริญยิ่งวัฒนา-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะจิตวิทยา-
dc.date.accessioned2015-07-28T09:03:31Z-
dc.date.available2015-07-28T09:03:31Z-
dc.date.issued2556-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44172-
dc.descriptionโครงงานทางจิตวิทยานี้เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยา คณะจิตวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปีการศึกษา 2556en_US
dc.descriptionA senior project submitted in partial fulfillment of the requirements for the Degree of Bachelor of Science in Psychology, Faculty of Psychology, Chulalongkorn University, Academic year 2013en_US
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาอิทธิพลของรูปแบบความผูกพัน (attachment styles) ที่มีต่อความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงาน (work-life balance) ของบุคคลทั่วไปไม่จำกัดเพศและอายุ ที่ทำงานอยู่ในปัจจุบัน ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล โดยกลุ่มตัวอย่างจำนวน 201 คน ตอบแบบสอบถามที่ประเมินรูปแบบความผูกพัน และความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงาน ตามลำดับ แล้วทำการวิเคราะห์ผลทางสถิติ ผลการวิเคราะห์พบว่า 1. ความวิตกกังวลในความผูกพัน (β1 = .16, p < .05) สามารถทำนายการรบกวนจากชีวิตการทำงานไปสู่ชีวิตนอกเหนือการทำงานได้อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของการรบกวนจากชีวิตการทำงานไปสู่ชีวิตนอกเหนือการทำงานได้ร้อยละ 4 (R 2 = .04, p < .05) 2. ความวิตกกังวลในความผูกพัน (β2 = .34, p < .001) สามารถทำนายการรบกวนจากชีวิตนอกเหนือการทำงานไปสู่ชีวิตการทำงานได้อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของการรบกวนจากชีวิตนอกเหนือการทำงานไปสู่ชีวิตการทำงานได้ร้อยละ 9 (R 2 = .09, p < .001) 3. ความวิตกกังวลในความผูกพัน (β3 = .17, p < .05) และจำนวนชั่วโมงการทำงาน (β4 = .29, p < .001) สามารถร่วมกันทำนายการรบกวนจากชีวิตการทำงานไปสู่ชีวิตนอกเหนือการทำงานได้ อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .001 โดยสามารถอธิบายความแปรปรวนของการรบกวนจากชีวิตการทำงานไปสู่ชีวิตนอกเหนือการทำงานได้ร้อยละ 12 (R 2 = .12, p < .001)en_US
dc.description.abstractalternativeThe purpose of this research was to study the effects of both anxious and avoidant attachment styles on work-nonwork interference and work-nonwork enhancement. Participants were two hundred and one who was currently working and completed a set of questionnaires assessing their attachment styles and work-life balance respectively. Results indicate that 1. Anxious attachment style (β1 = .16, p < .05) significantly predicted work interfere with life and explained 4% of the variation in work interfere with life (R 2 = .04, p < .05). 2. Anxious attachment style (β2 = .34, p < .001) significantly predicted life interfere with work and explained 9% of the variation in life interfere with work (R 2 = .09, p < .001). 3. Anxious attachment style (β3 = .17, p < .05) and work hours (β4 = .29, p < .001) significantly predicted work interfere with life and explained 12% of the variation in work interfere with life (R 2 = .12, p < .001).en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการทำงาน -- แง่จิตวิทยาen_US
dc.subjectความผูกพันen_US
dc.subjectความวิตกกังวลen_US
dc.subjectความผูกพันต่อองค์การen_US
dc.subjectWork|xPsychological aspectsen_US
dc.subjectCommitment (Psychology)en_US
dc.subjectAnxietyen_US
dc.subjectOrganizational commitmenten_US
dc.titleอิทธิพลของรูปแบบความผูกพันต่อความสมดุลระหว่างชีวิตและการทำงานen_US
dc.title.alternativeEffects of attachment styles on work-life balanceen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
Appears in Collections:Psy - Senior Projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ratanaparn_so.pdf893.14 kBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.