Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44253
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสิริพรรณ พัฒนาฤดี-
dc.contributor.authorจุฑามาศ ท้วมเสม-
dc.contributor.authorกษมา รังสินธุ์-
dc.contributor.authorวิรมณ รุ่งรัตนวณิชย์-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะเภสัชศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-08-11T07:31:28Z-
dc.date.available2015-08-11T07:31:28Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.otherSepr 1/55 ค1.2-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44253-
dc.description.abstractงานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะซึมเศร้าและภาวะวิตกกังวลกับการเสพติดบุหรี่ โดยประเมินภาวะซึมเศร้าและวิตกกังวลด้วยแบบประเมินที่ดัดแปลงจาก Depression anxiety and stress scale (DASS-21) ความรุนแรงของการเสพติดนิโคตินด้วยแบบประเมิน Fagerstrom test for nicotine dependence (FTND) และความรุนแรงของการเสพติดบุหรี่ทางจิตใจและสังคมด้วยแบบทดสอบ “ทาไมคุณยังสูบบุหรี่อยู่” โดยศึกษาเชิงวิเคราะห์แบบตัดขวาง ดาเนินงานวิจัย ณ หน่วยโรคระบาดทางเดินหายใจและเวชบาบัดผู้ป่วยวิกฤติ รพ.จุฬาลงกรณ์ และคลินิกฟ้าใส รพ.ตารวจ เก็บข้อมูลระหว่างเดือนมิถุนายนถึงธันวาคม 2555 โดยการสัมภาษณ์และให้ผู้เข้าร่วมงานวิจัยทาแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วย SPSS 14.0 ผู้เข้าร่วมงานวิจัยเป็นผู้เสพติดบุหรี่ที่มีอายุตั้งแต่ 18 ปีขึ้นไปและมาเข้ารับบริการเลิกบุหรี่เป็นครั้งแรก โดยการศึกษานี้มีผู้เข้าร่วมงานวิจัย 104 คน (ชาย 90 คน และหญิง 14 คน) ผู้ป่วยใน 47 คน ผู้ป่วยนอก 57 คน อายุ 18-74 ปี ระยะเวลาเฉลี่ยของการสูบบุหรี่ (+ SD) 24+ 13 ปี จานวนบุหรี่ที่สูบเฉลี่ย (+ SD) 15 + 12 มวนต่อวัน จานวนครั้งที่เคยเลิกบุหรี่เฉลี่ย (+ SD) 1.40 + 1.89 ครั้ง ผลการวิจัยพบว่า 41.3% ของผู้เข้าร่วมงานวิจัยมีภาวะซึมเศร้า (Depression score >10) และ 63.5% มีภาวะวิตกกังวล (Anxiety score >8) คะแนน FTND เฉลี่ย (+ SD) 4.39+2.5 เมื่อวิเคราะห์โดยใช้ Pearson’s Correlation พบว่าการเสพติดนิโคตินมีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าและภาวะวิตกกังวลอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p = 0.033, 0.012 ตามลาดับ) และพบว่าการเสพติดบุหรี่ทางจิตใจและสังคมมีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าและภาวะวิตกกังวลอย่างมีนัยสาคัญทางสถิติ (p = 0.024, 0.003 ตามลาดับ) จากการศึกษานี้แสดงให้เห็นว่ามีความสัมพันธ์ระหว่างการเสพติดบุหรี่และภาวะซึมเศร้าและวิตกกังวล ดังนั้นจึงควรมีการประเมินภาวะซึมเศร้าและภาวะวิตกกังวลในผู้เสพติดบุหรี่ก่อนดาเนินการช่วยเลิกบุหรี่และพิจารณาใช้ยาหรือพฤติกรรมบาบัดในผู้ที่มีภาวะซึมเศร้าหรือวิตกกังวลซึ่งอาจเพิ่มโอกาสในการเลิกบุหรี่สาเร็จได้มากขึ้นen_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherคณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectการติดนิโคตินen_US
dc.subjectความซึมเศร้าen_US
dc.subjectความวิตกกังวลen_US
dc.titleการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการเสพติดบุหรี่และภาวะซึมเศร้าและภาวะวิตกกังวลen_US
dc.title.alternativeThe association study of smoking addiction and depression and anxietyen_US
dc.typeSenior Projecten_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.email.advisorchanchai.s@chula.ac.th-
Appears in Collections:Pharm - Senior projects

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
jutamas_tu.pdf1.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.