Please use this identifier to cite or link to this item:
https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44592
Title: | ระบบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กน้ำหนักเบาราคาประหยัด |
Other Titles: | LIGHT WEIGHT AND COST EFFICIENCY REINFORCED CONCRETE FLOOR SYSTEM |
Authors: | ธีรชาติ คงหอม |
Advisors: | สุนทร บุญญาธิการ |
Other author: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ |
Advisor's Email: | Soontorn.B@chula.ac.th |
Subjects: | คอนกรีตเสริมเหล็ก -- การออกแบบและการสร้าง โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก -- การออกแบบและการสร้าง วิศวกรรมโครงสร้าง การออกแบบโครงสร้าง พื้น การออกแบบสถาปัตยกรรม แรง Reinforced concrete -- Design and construction Reinforced concrete structure -- Design and construction Structural engineering Structural design Floors Architectural design Force and energy |
Issue Date: | 2557 |
Publisher: | จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย |
Abstract: | จากการศึกษาระบบพื้นคอนกรีตเสริมเหล็กรูปแบบเดิม(Postension) ช่วงยาว 8.00 ม. พบว่าการออกแบบก่อสร้างพื้นมีขนาดค่อนข้างหนาทำให้น้ำหนักบรรทุกตายตัวมีน้ำหนักมากเมื่อเปรียบเทียบกับน้ำหนักบรรทุกจรใช้งาน ตามข้อกำหนดของพระราชบัญญัติการก่อสร้างและข้อกำหนดของวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ทำให้โครงสร้างอาคารทั้งระบบมีความหนาเกินความจำเป็นซึ่งจะส่งผลกระทบดังต่อไปนี้ 1. การถ่ายน้ำหนักบรรทุกของตัวอาคารส่งผลต่อฐานรากและเสาเข็ม 2. ระยะเวลาและงบประมาณในการก่อสร้าง 3. พลังงานที่ใช้ในการก่อสร้างและพลังงานที่ใช้ในอาคาร งานวิจัยนี้ได้ทำการทดสอบพื้นขนาด ความหนาเท่ากับ 0.05 ม. ความกว้างเท่ากับ 1.20 ม. และความยาวเท่ากับ 8.00 ม. โดยใช้โฟมมาแทนส่วนของคอนกรีตบริเวณใต้ท้องพื้นเพื่อลดน้ำหนักบรรทุกตายตัวได้ 600 กก./ตร.ม. ในราคาค่าก่อสร้างพื้นเท่ากัน เมื่อเทียบกับระบบพื้น Postension ที่มีความหนาเท่ากัน แนวคิดนี้จึงเป็นการประยุกต์ใช้กับระบบพื้นรูปแบบใหม่เพื่อแก้ปัญหาดังกล่าว ผลวิจัยของการออกแบบพื้นรูปแบบใหม่ เปรียบเทียบกับพื้นรูปแบบเดิม พบว่า 1. น้ำหนัก พื้นรูปแบบใหม่และพื้นรูปแบบเดิมมีน้ำหนักเท่ากันน้ำหนักเท่ากัน 2. เวลาในการก่อสร้าง พื้นรูปแบบใหม่เสร็จเร็วกว่าพื้นรูปแบบเดิม จากเดิม 9 วัน เป็น 5 วัน เร็วกว่า 4 วัน ( คิดเป็น 89%) 3. งบประมาณในการก่อสร้าง พื้นรูปแบบใหม่ใช้งบประมาณน้อยกว่าพื้นแบบเดิมเท่ากับ 5,077 บาท (คิดเป็น 28%) |
Other Abstract: | From the study of the typical posttension 8-meter concrete slab, it was found that they are generally thick, causing its dead load to be high when compared to its live load, when built according to the Construction Legislation and The Engineering Institute of Thailand (EIT). This led to excessively thick slab system that affects the following: 1. The load bearing of the slabs that changes structure of the groundwork and the pile. 2. The construction budget and completion time. 3. The energy used in construction and building operation. This study tested a slab with the measurements of 0.05 m thickness, 1.20 m width, and 8 m length. Foam is used to replace the concrete in the bottom of the slab to reduce dead weight by 600 kg/m2, but construction cost is still the same as the posttension floor system of the same length. Integrating these concepts to find a new slab type to solve the mentioned issues, it yielded the following results: 1. Weight - the new and old slab systems weigh the same. 2. Construction time - the new design can be constructed 4 days (or 89 percent) faster than the old, from 9 days to 5 days. 3. Construction budget - the new design costs 5,077 baht(or 28 percent) less than the old design. |
Description: | วิทยานิพนธ์ (วท.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557 |
Degree Name: | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต |
Degree Level: | ปริญญาโท |
Degree Discipline: | สถาปัตยกรรม |
URI: | http://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44592 |
URI: | http://doi.org/10.14457/CU.the.2014.745 |
metadata.dc.identifier.DOI: | 10.14457/CU.the.2014.745 |
Type: | Thesis |
Appears in Collections: | Arch - Theses |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
5573335125.pdf | 11.84 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.