Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44713
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorประพล คำจิ่ม-
dc.contributor.authorรักศานต์ วิวัฒน์สินอุดม-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะศิลปกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-08-22T07:39:38Z-
dc.date.available2015-08-22T07:39:38Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/44713-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (ศป.ด.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractการวิจัยสร้างสรรค์นี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1. แสดงแนวคิดเกี่ยวกับสตรีนิยมในสังคมไทยปัจจุบัน 2. แสดงมุมมองของชายไทยที่มีต่อแนวคิดสตรีนิยมในสังคมปัจจุบัน 3. สะท้อนมุมมองของชายไทยต่อแนวคิดสตรีนิยมในสังคมไทยผ่านการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ โดยใช้การวิจัยเชิงปริมาณ วิธีการสุ่มตัวอย่างเป็นกลุ่ม (Cluster Sampling) และร้อยละ รวมทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพโดยวิธีการสุ่มตัวอย่างแบบบังเอิญ (Accidental Sampling) ผลการวิจัยพบว่าความเสมอภาคระหว่างชายหญิงนั้นส่วนมากเห็นด้วยโดยมีประเด็นต่าง ๆ คือ การให้ความสำคัญกับสตรีว่าเป็นผู้ที่มีความรู้ดี เป็นผู้ที่มีความมุ่งมั่นสูง เป็นผู้ที่มีความจำดีเป็นผู้สามารถหาเลี้ยงครอบครัวได้เท่าเทียมกับผู้ชาย และคิดว่าตนเองมีความสำคัญที่สุดในครอบครัวนอกจากนี้สตรีควรมีบทบาทเท่าเทียมกันในทุกมิติ ทั้งด้านการเมือง สังคม ศาสนา การบริหาร ครอบครัวและการแสดงออกทางเพศ แต่อย่างไรก็ตามความคิดเห็นของคนส่วนใหญ่ทั้งเพศชายและเพศหญิงยังให้การยอมรับในเพศชายว่าเป็นตัวแบบ ความเป็นผู้มีอำนาจ ความเป็นผู้นำในสังคมไทย ดังนั้น บทบาทเหล่านี้ได้นำมาสะท้อนผ่านตัวละครในการเล่าเรื่องในภาพยนตร์ โดยตัวละครนำหญิงเป็นตัวแทนของสตรียุคใหม่ในสายตาของผู้ชายโดยทั่วไปที่มีความเชื่อมั่นคิดว่าเพศชายและเพศหญิงมีบทบาทเท่าเทียมกัน ส่วนตัวละครโสเภณีใบ้ เปรียบเสมือนสตรีในสังคมไทยยุคก่อนที่มีหน้าที่คอยรับใช้บริการและตอบสนองความต้องการทางเพศของเพศชายและยอมรับความเป็นใหญ่ ขณะที่ตัวละครนำชายเป็นตัวแทนของชายไทยในสังคมยุคปัจจุบันที่มีการศึกษามากขึ้น ยอมรับในบทบาทของสตรีที่มีความเสมอภาคกัน รักความเป็นอิสระ ไม่อยู่ในกฎระเบียบ ส่วนตัวละครที่เป็นภารโรงชายเป็นตัวแทนในสังคมไทยยุคเก่าที่ด้อยการศึกษา มีแนวคิดของความเป็นผู้นำ ความมีอำนาจของเพศชายที่อยู่เหนือเพศหญิงและเพศหญิงคือสิ่งปลดเปลื้องอารมณ์ทางเพศen_US
dc.description.abstractalternativeThis research has three objectives: 1) to present the concept behind feminism in contemporary Thai society; 2) to present the concept of Thai males towards Thai feminism in contemporary Thai society; and 3) to reflect the concept of Thai males towards Thai feminism in contemporary Thai society in the film : The Shadow. The research method included both cluster and accidental samplings. Research results showed there is a sense of equality between men and women by demonstrating that women are persons with a high degree of knowledge, confidence, and recollection. Results show that women are equal to men in providing for their families and that they are the most important person in the family. In addition, women are shown to play an equal role in all dimensions when it comes to politics, society, religion, management, family and sexual relations. However, this is in contrast to the thinking of the majority of Thai men and women who still see men as the person of authority and leader in Thai society as reflected in Thai films. Now, though, this researcher has produced a film with leading female characters who represent the new generation female in the eyes of men, which is that men and women are equal in all aspects. The character of a janitor is used to represent the past and former leadership role of men in society with women presented as prostitutes made available to service men.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.98-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectปริญญาดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.subjectสตรีนิยมen_US
dc.subjectสตรีในภาพยนตร์en_US
dc.subjectFeminismen_US
dc.subjectWomen in motion picturesen_US
dc.titleภาพยนตร์ศิลปะ สตรีนิยมในสายตาชายen_US
dc.title.alternativeArt film : feminism on men’s viewen_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameศิลปกรรมศาสตรดุษฎีบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาเอกen_US
dc.degree.disciplineศิลปกรรมศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorไม่มีข้อมูล-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.98-
Appears in Collections:Fine Arts - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
raksarn_wi.pdf17.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.