Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4492
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorดำรงค์ ทวีแสงสกุลไทย-
dc.contributor.authorทักษิณา คุณมาศ-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.date.accessioned2007-10-26T09:01:06Z-
dc.date.available2007-10-26T09:01:06Z-
dc.date.issued2548-
dc.identifier.isbn9745328154-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/4492-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (วศ.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548en
dc.description.abstractพัฒนาตัวบ่งชี้ สำหรับการประกันคุณภาพการศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย โดยอาศัยแนวคิดของดัชนีชี้วัดความสำเร็จแบบสมดุล และการบริหารความเสี่ยง การพัฒนาตัวบ่งชี้เริ่มจากการสร้างแผนที่กลยุทธ์ของคณะฯ จากนั้นกำหนดตัวบ่งชี้พร้อมทั้งจำแนกออกเป็น 4 มุมมอง ผลการดำเนินการทำให้ได้ตัวบ่งชี้ทั้งหมด 55 ตัวบ่งชี้ ภายใต้ 13 หลักเกณฑ์ที่สอดคล้องกับแผนที่กลยุทธ์ ประกอบด้วย คุณภาพบัณฑิต ผลงานวิชาการ นิสิต กลไกการเรียนการสอน กลไกการพัฒนางานวิจัยและบริการวิชาการ ระบบคุณภาพภายในคณะ ระบบการบริหารจัดการ การประชาสัมพันธ์ภายในและภายนอกคณะ โครงสร้างพื้นฐานทางการศึกษา ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาคณาจารย์ การพัฒนาบุคลากรและการเงิน ถัดมาเป็นการแปลงตัวบ่งชี้ดังกล่าวสู่ระดับหน่วยงาน และเสนอแผนปฏิบัติเพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติของหน่วยงาน จากนั้นเลือกตัวบ่งชี้ "ระดับความพึงพอใจของผู้ประกอบการที่ว่าจ้างบัณฑิต" มาทดลองปฏิบัติ ผลจากการรวบรวมข้อมูลแบบสอบถามพบว่า ช่วงปีการศึกษา 2542-2544 และช่วงปีการศึกษา 25444-2546 ระดับความพึงพอใจคุณภาพบัณฑิต คิดเป็น 77.7% และ 78.6% ตามลำดับ สำหรับการจัดทำระบบบริหารความเสี่ยง กำหนดวัตถุประสงค์การดำเนินการว่า "ระดับความพึงพอใจของผู้ประกอบการที่ว่าจ้างบัณฑิต ไม่ต่ำกว่าร้อยละ 85" จากการประเมินพบว่ามีเหตุปัจจัยเสี่ยงทั้งหมด 18 ประการ และเมื่อพิจารณาจากคะแนนซึ่งเป็นผลคูณระหว่างโอกาสเกิดความเสี่ยง และความรุนแรงของความเสี่ยงพบว่ามีเหตุปัจจัยเสี่ยงขั้นรุนแรง 2 ประการคือ ขาดความรับผิดชอบ และไม่สามารถวิเคราะห์ปัญหาและตัดสินใจอย่างมีระบบ จากนั้นอาศัยการวิเคราะห์แขนงความบกพร่องเพื่อวิเคราะห์หาสาเหตุ พร้อมทั้งเสนอแผนจัดการความเสี่ยงจำนวน 5 แผน เพื่อเป็นแนวทางให้หน่วยงานนำไปปฏิบัติ และจากตัวบ่งชี้ที่พัฒนาขึ้น 55 ตัวนั้นพบว่ามี 19 ตัวที่เพิ่มเติมขึ้นเพื่อใช้เป็นกลไกในการป้องกันความเสี่ยงจากการดำเนินการ โดยเน้นเรื่องคุณภาพบัณฑิต ผลงานวิชาการ นิสิต กลไกการเรียนการสอนที่ต้องได้รับการยอมรับทั้งระดับประเทศและนานาชาติen
dc.description.abstractalternativeTo develop indicators for quality assurance of Engineering Program by applying balance scorecard and risk management. Initially, development of indicators gegin with establishing strategy map then creating indicators and classifying them to 4 perspectives. From this approach, the result consists of 54 indicators within 13 criteria such as graduates quality, result of academic matter, students, teaching-learning mechanism, resource for developing research and academic services for society, quality system, management system, internal and external public relation, academic infrastructure, information technology system, professional development, human resource development and finance. After that 54 indicators are deployed to department level until showing action plans for department. Afterwards, one indicator "Satisfaction level of entrepreneurs who employ graduates" was chosen to implement like pilot test. By using questionnaires to gather data. The result demonstrates that in 1999-2001 and 2001-2003 " Satisfaction level of entrepreneurs" is 77.7% and 78.6% respectively. To fulfill risk management system, start with identifying the objective which is "at least 85% of satisfaction level of entrepreneurs who employ graduates can be accept" The result from evaluating shown that there are 18 causes of risk. Then, examine product score of likelihood and consequences from questionnaires. The result is represented 2 extremely risks namely, lack of responsibility, means to evaluate problems and decision system. Afterwards, performing risk analysis by fault tree analysis (FTA) and 5 risk management plans are introduced to be guide of department. As well as according to 55 indicators, Finally, can be concluded that there are 19 increasing improvement indicator as ways to protect operation from risks. They focus on graduates quality, result of academic matter, students, teaching-learning mechanism in term of national and international recognitionen
dc.format.extent1765500 bytes-
dc.format.mimetypeapplication/pdf-
dc.language.isothen
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2005.1038-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.subjectประกันคุณภาพการศึกษาระดับอุดมศึกษาen
dc.subjectการศึกษาขั้นอุดมศึกษาen
dc.subjectการบริหารความเสี่ยงen
dc.subjectจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะวิศวกรรมศาสตร์-
dc.titleการปรับปรุงตัวบ่งชี้สำหรับการประกันคุณภาพการศึกษาในหลักสูตรอุดมศึกษา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.title.alternativeImprovement of indicators for quality assurance in higher education program, Engineering Program Chulalongkorn Universityen
dc.typeThesisen
dc.degree.nameวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตen
dc.degree.levelปริญญาโทen
dc.degree.disciplineวิศวกรรมอุตสาหการen
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen
dc.email.advisorDamrong.T@chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2005.1038-
Appears in Collections:Eng - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
taksina.pdf1.72 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.