Please use this identifier to cite or link to this item: https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45117
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributor.advisorสุผานิต เกิดสมเกียรติ-
dc.contributor.authorวีระ ไกรกาบแก้ว-
dc.contributor.otherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. คณะนิติศาสตร์-
dc.date.accessioned2015-09-08T09:40:25Z-
dc.date.available2015-09-08T09:40:25Z-
dc.date.issued2555-
dc.identifier.urihttp://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/45117-
dc.descriptionวิทยานิพนธ์ (น.ม.)--จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2555en_US
dc.description.abstractอาชญากรรมร้ายแรงในทางระหว่างประเทศที่ก่อให้เกิดความเสียหายอย่างรุนแรงต่อประชาคมระหว่างประเทศ ปัจเจกชนผู้กระทำความผิดต้องมีความรับผิดในฐานะผู้ทรงสิทธิ และมีพันธกรณีภายใต้กฎหมายอาญาระหว่างประเทศ มาตรา 25 ของธรรมนูญกรุงโรมว่าด้วยศาลอาญาระหว่างประเทศ บัญญัติให้ปัจเจกชนเท่านั้นที่ต้องมีความรับผิดในทางระหว่างประเทศ แต่อย่างไรก็ตามการเจริญเติบโตของการค้าและการลงทุนระหว่างประเทศทำให้บทบัญญัติดังกล่าวยังไม่เพียงพอต่อการป้องกันการกระทำความผิด ในปัจจุบันทำให้รูปแบบการกระทำความผิดเปลี่ยนแปลงไปและมีความซับซ้อนเพิ่มมากขึ้น โดยเฉพาะการกระทำความผิดของนิติบุคคลในทางกฎหมาย เช่น บริษัทจำกัด หรือบรรษัทข้ามชาติที่ต้องการใช้ประโยชน์ในทรัพยากรธรรมชาติ และเพื่อตอบแทนผลกำไรสูงสุดต่อผู้ถือหุ้น การกระทำความผิดของปัจเจกชนภายใต้การดำเนินการของบริษัท มีรูปแบบในการกระทำความผิดเป็นการร่วมกันกระทำความผิดในการสมคบคิด การให้ความช่วยเหลือสนับสนุน ยุยงปลุกปั่น รวมถึงการทำให้พลเมืองย้ายถิ่นฐานเพื่อบริษัทจะได้ใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติในท้องถิ่นได้อย่างเต็มที่ จากผลการศึกษาวิจัยพบว่า แนวทางการขยายความรับผิดของบริษัทภายใต้ศาลอาญาระหว่างประเทศของบริษัทมีความสำคัญ และจำเป็นต่อสถานการณ์ระบบเศรษฐกิจระหว่างประเทศในปัจจุบัน ซึ่งรวมถึงบทบัญญัติกฎหมายอาญาภายในรัฐโดยการบัญญัติให้บริษัทและเจ้าหน้าที่ของบริษัทต้องมีความรับผิดในอาชญากรรมร้ายแรงในทางระหว่างประเทศนั้นเป็นหนทางในการป้องกันบริษัท รวมถึงเจ้าหน้าที่บริษัทอ้างการกระทำตามหน้าที่ หรือการทำตามคำสั่งผู้บังคับบัญชากระทำความผิดในอาชญากรรมร้ายแรงโดยไม่ต้องมีความรับผิดในทางอาญาen_US
dc.description.abstractalternativeThere are cases of grave breaches under international criminal law causing severe damage to the international community in many aspects. A person who commits an international crime shall be individually responsible and liable for punishment within the jurisdiction of the International Criminal Court in accordance with Article 25 of The Rome Statute. Nonetheless, in the context of global economic interdependence, and related social, economic power and international political influencing Corporations and their business are major actors whom perpetrate international crimes for which the provisions of Article 25 are insufficient to prevent the offense. In particular, the current international atmosphere of thriving trade and investment increased relevant offense complexity .Corporate complicity in international criminal acts while there are many situation in which Corporations and their officials are direct and immediate perpetrators in international crime such as criminal responsibility in additional to “aiding and abetting” which includes deportation or forcible transfer after that Corporations takes advantage of the natural resources in order to return the maximum profit for its shareholders. The study has found that extending Corporations responsibility under the International Criminal Court is important for businesses in 21st century. As the field of international criminal law develops and as companies operate in new contexts. The international criminal law and its implementation in domestic and international jurisdiction will become ever more relevant to Corporations. Therefore, extending the provision of international criminal law (Rome status) provides a powerful and appropriate tool to deter and punish Corporations and their officials who participate crimes under international law.en_US
dc.language.isothen_US
dc.publisherจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.relation.urihttp://doi.org/10.14457/CU.the.2012.1269-
dc.rightsจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.subjectอาชญากรรมระหว่างประเทศ -- กฎหมายและระเบียบข้อบังคับen_US
dc.subjectกฎหมายอาญาระหว่างประเทศen_US
dc.subjectความรับผิด (กฎหมาย)en_US
dc.subjectศาลอาญาระหว่างประเทศen_US
dc.subjectความรับผิดทางอาญาของนิติบุคคลen_US
dc.subjectInternational crimes -- Law and legislationen_US
dc.subjectInternational criminal lawen_US
dc.subjectLiability (Law)en_US
dc.subjectInternational criminal courtsen_US
dc.subjectCriminal liability of juristic personsen_US
dc.titleแนวทางการขยายความรับผิดของบริษัทภายใต้ศาลอาญาระหว่างประเทศen_US
dc.title.alternativeExtending corporate responsibility under international criminal courten_US
dc.typeThesisen_US
dc.degree.nameนิติศาสตรมหาบัณฑิตen_US
dc.degree.levelปริญญาโทen_US
dc.degree.disciplineนิติศาสตร์en_US
dc.degree.grantorจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยen_US
dc.email.advisorSuphanit.K@Chula.ac.th-
dc.identifier.DOI10.14457/CU.the.2012.1269-
Appears in Collections:Law - Theses

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
vira_kr.pdf2.33 MBAdobe PDFView/Open


Items in DSpace are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.